โครงการสร้างเสริมสุขภาพวัยรุ่นโดยใช้กิจกรรม TO BE NUMBER ONE
ชื่อโครงการ | โครงการสร้างเสริมสุขภาพวัยรุ่นโดยใช้กิจกรรม TO BE NUMBER ONE |
รหัสโครงการ | 68-50105-02-13 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมทูบีนัมเบอร์วันบ้านไสตอ |
วันที่อนุมัติ | 22 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 29 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 9,400.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายพาดอน ชูทับ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 198 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน | 1.00 | ||
2 | ร้อยละเยาวชนขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องยาเสพติด เพศศึกษา | 50.00 | ||
3 | จำนวนพื้นที่เสี่ยงต่อการมั่วสุมในชุมชน | 1.00 | ||
4 | พื้นที่สร้างสรรแก่เยาวชน | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
“ยาเสพติด” ปัญหาสำคัญระดับชาติที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดที่มีการระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น ทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการเมืองและความมั่นคงของประเทศ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชนที่เป็นกลุ่มขนาดใหญ่ นอกจากนี้ยังถือเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติดสูง เนื่องจากเป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ในสิ่งต่างๆ แต่ยังขาดวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่ดีพอ รวมทั้งต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ จึงทรงพระกรุณาธิคุณรับเป็นองค์ประธานโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งปัจจุบันได้ใช้ชื่อเพื่อให้ง่ายต่อการรณรงค์ว่าโครงการ TO BE NUMBER ONE ในการนี้ชุมชนมูบีนัมเบอร์วันบ้านไสตอจึงได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเยาวชนในด้านคุณธรรมจริยธรรมให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข และเป็นหนึ่งโดยไม่ต้องพึ่งยาเสพติด จึงได้น้อมนำโครงการ TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริโสภาพรรณวดีมาดำเนินงาน โครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติดคาดหวังให้เด็กมีคุณลักษณะกล้าคิด กล้าทำ กล้าแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ และมีคุณธรรมจริยธรรม ทำคุณประโยชน์ให้กับสังคม โรงเรียน ครอบครัว และพัฒนาตนเองในการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด มีทักษะในการดำเนินชีวิต สามารถดำรงตนในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีความสุข พร้อมเป็นบุคคลต้นแบบในการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ให้ปรากฏเป็นรูปธรรมตามโครงการพระราชดำริ พร้อมขยายเครือข่ายสู่ชุมชนอื่นๆ ส่งผลให้เยาวชนในสังคมห่างไกลยาเสพติด
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน |
1.00 | 2.00 |
2 | เพื่อเพิ่มสมาชิกชมรมTO BE NUMBER ONE สมาชิกชมรมTO BE NUMBER ONEเพิ่มมากขึ้น |
0.00 | 90.00 |
3 | เพื่อเพิ่มพื้นที่สร้างสสค์แก่เยาวชน เกิดพื้นที่สร้างสสค์แก่เยาวชนเพิ่มขึ้น |
1.00 | 2.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 9,400.00 | 0 | 0.00 | |
12 ก.พ. 68 | ประชุมเพื่อแต่งตั้งคณะทำงานและภาคีเครือข่าย | 0 | 0.00 | - | ||
10 พ.ค. 68 | จัดอบรมให้ความรู้ยาเสพติดให้โทษ เพศวิถีและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ | 0 | 2,800.00 | - | ||
30 ก.ค. 68 | ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เยาวชนและสร้างกระแสชมรมTO BE NUMBER ONE | 0 | 6,600.00 | - |
1.เกิดกระแสนิยมของเยาวชนป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2.สมาชิกชมรมตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกัน ตนเองได้ 3.สมาชิกชมรมได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ 4.สมาชิกชมรมมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของ ชมรมด้วยความภาคภูมิใจ 5.มีการสร้างเครือข่ายชมรม TO BE NUMBER ONE
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2568 10:00 น.