โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2540-1-009 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลสุไหงปาดี |
วันที่อนุมัติ | 25 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 13,220.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางพิศรรัตน์ คันทุเวช |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วันโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจอย่างใหญ่หลวงอุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้า ๆ ในอดีต แต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้นเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรควัณโรคและการดื้อยาดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขจึงให้ความสำคัญแก่แผนงานวัณโรคแห่งชาติในวันที่จะพัฒนายุทธศาสตร์ที่สำคัญในการควบคุมวัณโรคโดยการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในระยะแรกได้เน้นไปที่การตรวจรักษาและการป้องกันโรคจากการทบทวนแผนงานวัณโรคแห่งชาติโดย คณะผู้เชี่ยวชาญวัณโรคจากองค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะที่ต้องเร่งรัดการดำเนินงานวัณโรค เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายอัตราการรักษาหายและกินยาครบหรือที่เรียกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค มากกว่าร้อย ละ 88 แนวทางการรักษาที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก คือ การรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับการกินยา หน้าทุกวัน ที่เรียกว่า องค์การอนามัยโลกได้ให้เสนอแนะให้ทุกประเทศทั่วโลก ใช้แนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จ ในการรักษาวัณโรคโดยพี่เลี้ยงหมายถึงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. หรือบุคคลในครอบครัวเพื่อคอยดูแลผู้ป่วยวัณโรคให้กินยาทุกวัน ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยได้กินยาจนกระทั่งหายขาด ไม่เกิดปัญหาดื้อยาวัณโรคและการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไปจำนวนผู้ป่วยวัณโรค โรงพยาบาลสุไหงปาดีตั้งแต่ปี 2565 ถึง ปี 2567 ทั้งหมด 104 ราย เสียชีวิต 7 ราย ขาดยา 5 ราย อัตราการรักษาหาย 92 ราย ในปี 2567 พบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่มากที่สุดในอำเภอสุไหงปาดี โรงพยาบาลสุไหงปาดีจึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี ประจำปี 2568 เพื่อดำเนินการควบคุมวัณโรคแบบครบวงจร เริ่มตั้งแต่การค้นหาผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงสูงให้ได้รับการคัดกรอง วินิจฉัยและการรักษาวัณโรคตามแนวทางวัณโรคแห่งชาติ ร่วมกับการควบคุมกำกับการกินยาแบบมีพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพ รวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องวัณโรคแก่ชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และลดการล่าช้าในการตรวจวินิจฉัยกลุ่มเสี่ยง 2. เพื่อดูแลรักษาวัณโรคให้หาย รับประทานยาครบ ลดการขาดยาและการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรค
|
60.00 | 0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 13,220.00 | 0 | 0.00 | |
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรควัณโรคแก่แกนนำ และประชาชนในพื้นที่ในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ประจำปี 2568 | 0 | 13,220.00 | - |
- อาสาสมัครแกนนำและประชาชนในพื้นที่มีความรู้เรื่องความเข้าใจเกี่ยวกับโรควัณโรค
- กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยได้รับการคัดกรอง วินิจฉัยรักษาอย่างรวดเร็ว
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ม.ค. 2568 13:07 น.