กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๑ ชุมชน ในเขตเทศบาลนครตรัง ”
ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางกรองแก้ว ทองเรืองสุกใส




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๑ ชุมชน ในเขตเทศบาลนครตรัง

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2568-L6896-01-13 เลขที่ข้อตกลง 21/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๑ ชุมชน ในเขตเทศบาลนครตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๑ ชุมชน ในเขตเทศบาลนครตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๑ ชุมชน ในเขตเทศบาลนครตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568-L6896-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 123,340.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง รับผิดชอบ 11 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนควนขนุน กะพังสุรินทร์ ควนขัน โคกขัน คลองน้ำเจ็ด ต้นสมอ ท้ายพรุ บ้านโพธิ์ โป๊ะเซ้ง หลังควนหาญ และชุมชนหลังสนามกีฬา มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จำนวน 94 คน รับผิดชอบดูแลประชาชนทั้งหมด 4,461 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 16,857 คน ผู้สูงอายุในพื้นที่ที่มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำบ้านดูแล จำนวน 3,293 คน ผู้พิการในพื้นที่ที่มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดูแล จำนวน 231 คน ผู้ป่วยเรื้อรังในพื้นที่ที่มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดูแล จำนวน 987 คน เด็กแรกเกิด – ๕ ปีในพื้นที่ที่มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดูแล จำนวน 313 คน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการดูแลสุขภาพเบื้องต้นในชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เป็นองค์กรที่มีบทบาทที่สำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค การฟื้นฟูสุขภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพในชุมชน โดยอาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นตัวแทนของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ให้บริการแก่ประชาขนขั้นพื้นฐานได้ทันท่วงทีเนื่องจากอาศัยอยู่ในพื้นที่ ทำให้ประชาชนได้รับบริการพื้นฐานที่ทั่วถึง และทันเวลา สำหรับกิจกรรมที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดำเนินการในพื้นที่ ได้แก่ กิจกรรมชั่งน้ำหนักเด็กและกลุ่มเป้าหมาย, วัดความดันโลหิต, วัดรอบเอว, ตรวจน้ำตาลในเลือด (DTX), การคัดกรองภาวะสุขภาพ การนัดให้ไปรับบริการต่างๆ ฯลฯ     จากการสำรวจอุปกรณ์ เครื่องมือ ในการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค การฟื้นฟูสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง ณ วันที่      4 ตุลาคม ๒๕๖7 พบว่ายังขาดแคลนอุปกรณ์ต่างๆ ในการปฏิบัติงาน ดังนี้ เครื่องวัดความดันโลหิตแบบอัตโนมัติ จำนวน 2๒ เครื่อง เครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล จำนวน 33 เครื่อง ตลับวัด BMI จำนวน 95 อัน และวัสดุอื่นๆที่ต้องใช้ในการปฏิบัติงาน เช่น ถ่านแอลคาไลน์ ซึ่งส่งผลให้การปฏิบัติงานมีความล่าช้าไม่เป็นไปตามแผนงาน     กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง เล็งเห็นความสำคัญการดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรค โดยการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นที่บ้านโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จึงได้จัดทำ “โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๑ ชุมชน ในเขตเทศบาลนครตรัง” เพื่อให้ประชาชนสะดวกในการรับบริการตรวจสุขภาพ รวดเร็ว ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายให้กับผู้รับบริการ ส่งผลให้ระบบสุขภาพชุมชมชนเชื่อมโยงกับระบบริการสุขภาพโดยรวมเกิดประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพ ๑๑ ชุมชน ในเขตเทศบาลนครตรัง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 2568-L6896-01-13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางกรองแก้ว ทองเรืองสุกใส )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด