โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย ”
ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางนุจรินทร์ หละดำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด
มิถุนายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย
ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิดถึงช่วงอายุ 2-6 ปี เป็นช่วงระยะที่เด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมาก เป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจของมนุษย์ มีพัฒนาการสมวัยทั้ง 4 ด้าน ได้ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย เพื่อความปลอดภัยหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค ตลอดจนรักษาดูแลทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เช่น การล้างมือ ฉีดยาพ่นโต๊ะทำงานและโต๊ะรับประทานอาหาร การล้างห้องน้ำ และการทำความสะอาดเครื่องเล่นพัฒนาการเด็ก เครื่องเล่นสนาม และในห้องต่างๆ เด็กรู้จักการรักษาสุขภาพตนเองให้เด็กปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ โดยการล้างมืออย่งถูกวิธี 7 ขั้นตอน เพื่อป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างการใช้สบู่เหลวล้างมือป้องกันเชื้อโรค ใช้แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อก่อนเข้าศูนย์เด็กและทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทำให้เด็กมีสุขภาพที่ดีนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนเป็นนิสัย และนอกจากร่างการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแล้วสมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย ผู้ปกครองส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับเด็กในการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย เช่น รูปร่าง น้ำหนัก ส่วนสูง ปล่อยให้พัฒนาการของเด็กเกิดขึ้นเองตามวัย แต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น ซึ่งนอกจากปัจจัยที่จะมีผลต่อพัฒนาการเด็ก เช่นพันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่แล้ว สิ่งแวดล้อมกับการเลี้ยงดูโดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ผู้ปกครองควรทำในชีวิตประจำวันของเด็กรวมถึงให้การติดตามพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัยเป็นสิ่งที่ผู้ปกครองจะละเลยไม่ได้สิ่งต่างๆเหล่านี้จะส่งผลให้เดผ้กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและมีคุณภาพต่อไป
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่รับอบรมเลี้ยงดูเด็ก ซึ่งมีการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน และเพื่อส่งเสริมพัฒนาการให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยจำเป็นจะต้องมีการร่วมมือกันระหว่างครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง ประกอบกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะมีเด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมากเมื่อมีผู้เจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันง่าย ยิ่งในเด็กเล็กเด็กจะมีภูมิต้านทานต่ำทำให้เด็กป่วยได้ง่ายและบ่อยมาก เช่น โรคติดต่อทางเดินหายใจ โรคมือ เท้า ปาก เมื่อเกิดโรคติดต่อจำเป็นต้องหยุดการเรียนการสอน เกิดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็กที่บ้านทำให้ขาดรายได้จากเหตุผลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตตะโหมดจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้ความสำคัญกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีความเหมาะสมตามวัยและดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วยป้องกันการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และโรคเหายังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือการระบาดของโรคติดเชื้อซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัย
- ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้เกี่ยวกับวิธีล้างมือเพื่อป้องกันเชื้อโรค
- ข้อที่ 3 ป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ข้อที่ 4 เพื่อเป็นการสร้างสุขนิสัยนักเรียนให้มีสุขภาพดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ครูผู้ดุแลเด็ก ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด มีความเข้าใจหลักการดูแลเด็กให้มีสุขภาพอนามัยที่ดี
2การระบาดของโรคติดต่อลดน้อยลงหรือไม่เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
3เด็กนักเรียนรู้วิธีการล้างมือที่ถูกต้อง 7 ขั้นตอน
4เด็กนักเรียนปฏิบัติจนเป็นนิสัยนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัย
ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 80 % ได้ัรับความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มีความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกวิธี และสามารถปฏิบัติตามมาตราการป้องกันด้านสุขภาพอนามัยต่างๆ ครบถ้วน
0.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้เกี่ยวกับวิธีล้างมือเพื่อป้องกันเชื้อโรค
ตัวชี้วัด : เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการล้างมือสามารถล้างมือได้ถูกต้องตาม 7 ขั้นตอน
0.00
3
ข้อที่ 3 ป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 1ทุกคนล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ป้องกันโรคติดต่อก่อนเข้าศูนย์เด็ก
2ฉีดพ่นโต๊ะทำงานและโต๊ะรับประทานอาหารด้วยแอลกอฮอล์
3ล้างทำความสะอาดห้องน้ำ
4ทำความสะอาดเครื่องเล่นสนาม
0.00
4
ข้อที่ 4 เพื่อเป็นการสร้างสุขนิสัยนักเรียนให้มีสุขภาพดี
ตัวชี้วัด : 1นักเรียนมีสุขภาพที่ดี ไม่เป็นโรคติดต่อ 2ให้เด็กนักเรียนล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และหลังการทำกิจกรรมต่างๆ 3เด็กนักเรียนปฏิบัติจนเป็นนิสัย
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัย (2) ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้เกี่ยวกับวิธีล้างมือเพื่อป้องกันเชื้อโรค (3) ข้อที่ 3 ป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) ข้อที่ 4 เพื่อเป็นการสร้างสุขนิสัยนักเรียนให้มีสุขภาพดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนุจรินทร์ หละดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย ”
ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางนุจรินทร์ หละดำ
มิถุนายน 2568
ที่อยู่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโหมด อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตะโหมด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การดูแลสุขภาพและสุขอนามัยในเด็กแรกเกิดถึงช่วงอายุ 2-6 ปี เป็นช่วงระยะที่เด็กเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมาก เป็นช่วงเวลาสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจของมนุษย์ มีพัฒนาการสมวัยทั้ง 4 ด้าน ได้ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย เพื่อความปลอดภัยหลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค ตลอดจนรักษาดูแลทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เช่น การล้างมือ ฉีดยาพ่นโต๊ะทำงานและโต๊ะรับประทานอาหาร การล้างห้องน้ำ และการทำความสะอาดเครื่องเล่นพัฒนาการเด็ก เครื่องเล่นสนาม และในห้องต่างๆ เด็กรู้จักการรักษาสุขภาพตนเองให้เด็กปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ โดยการล้างมืออย่งถูกวิธี 7 ขั้นตอน เพื่อป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างการใช้สบู่เหลวล้างมือป้องกันเชื้อโรค ใช้แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อก่อนเข้าศูนย์เด็กและทำความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ทำให้เด็กมีสุขภาพที่ดีนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนเป็นนิสัย และนอกจากร่างการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแล้วสมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย ผู้ปกครองส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับเด็กในการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย เช่น รูปร่าง น้ำหนัก ส่วนสูง ปล่อยให้พัฒนาการของเด็กเกิดขึ้นเองตามวัย แต่ในปัจจุบันความรู้จากการศึกษาและความตื่นตัวในวิทยาการสมัยใหม่ให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น ซึ่งนอกจากปัจจัยที่จะมีผลต่อพัฒนาการเด็ก เช่นพันธุกรรมที่ได้รับจากพ่อแม่แล้ว สิ่งแวดล้อมกับการเลี้ยงดูโดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่นเป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่ผู้ปกครองควรทำในชีวิตประจำวันของเด็กรวมถึงให้การติดตามพัฒนาการของเด็กให้เหมาะสมตามวัยเป็นสิ่งที่ผู้ปกครองจะละเลยไม่ได้สิ่งต่างๆเหล่านี้จะส่งผลให้เดผ้กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและมีคุณภาพต่อไป
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่รับอบรมเลี้ยงดูเด็ก ซึ่งมีการส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน และเพื่อส่งเสริมพัฒนาการให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยจำเป็นจะต้องมีการร่วมมือกันระหว่างครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครอง ประกอบกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะมีเด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมากเมื่อมีผู้เจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันง่าย ยิ่งในเด็กเล็กเด็กจะมีภูมิต้านทานต่ำทำให้เด็กป่วยได้ง่ายและบ่อยมาก เช่น โรคติดต่อทางเดินหายใจ โรคมือ เท้า ปาก เมื่อเกิดโรคติดต่อจำเป็นต้องหยุดการเรียนการสอน เกิดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงานเพื่อดูแลเด็กที่บ้านทำให้ขาดรายได้จากเหตุผลดังกล่าวศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตตะโหมดจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้ความสำคัญกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้มีความเหมาะสมตามวัยและดำเนินงานด้านการเฝ้าระวังการป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วยป้องกันการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน และโรคเหายังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือการระบาดของโรคติดเชื้อซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัย
- ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้เกี่ยวกับวิธีล้างมือเพื่อป้องกันเชื้อโรค
- ข้อที่ 3 ป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
- ข้อที่ 4 เพื่อเป็นการสร้างสุขนิสัยนักเรียนให้มีสุขภาพดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1ครูผู้ดุแลเด็ก ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมด มีความเข้าใจหลักการดูแลเด็กให้มีสุขภาพอนามัยที่ดี
2การระบาดของโรคติดต่อลดน้อยลงหรือไม่เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
3เด็กนักเรียนรู้วิธีการล้างมือที่ถูกต้อง 7 ขั้นตอน
4เด็กนักเรียนปฏิบัติจนเป็นนิสัยนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัย ตัวชี้วัด : ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดอย่างน้อย 80 % ได้ัรับความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มีความเข้าใจในวิธีการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกวิธี และสามารถปฏิบัติตามมาตราการป้องกันด้านสุขภาพอนามัยต่างๆ ครบถ้วน |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้เกี่ยวกับวิธีล้างมือเพื่อป้องกันเชื้อโรค ตัวชี้วัด : เด็กมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการล้างมือสามารถล้างมือได้ถูกต้องตาม 7 ขั้นตอน |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 ป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : 1ทุกคนล้างมือด้วยแอลกอฮอล์ป้องกันโรคติดต่อก่อนเข้าศูนย์เด็ก 2ฉีดพ่นโต๊ะทำงานและโต๊ะรับประทานอาหารด้วยแอลกอฮอล์ 3ล้างทำความสะอาดห้องน้ำ 4ทำความสะอาดเครื่องเล่นสนาม |
0.00 |
|
||
4 | ข้อที่ 4 เพื่อเป็นการสร้างสุขนิสัยนักเรียนให้มีสุขภาพดี ตัวชี้วัด : 1นักเรียนมีสุขภาพที่ดี ไม่เป็นโรคติดต่อ 2ให้เด็กนักเรียนล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และหลังการทำกิจกรรมต่างๆ 3เด็กนักเรียนปฏิบัติจนเป็นนิสัย |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตะโหมดมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัย (2) ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีความรู้เกี่ยวกับวิธีล้างมือเพื่อป้องกันเชื้อโรค (3) ข้อที่ 3 ป้องกันโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) ข้อที่ 4 เพื่อเป็นการสร้างสุขนิสัยนักเรียนให้มีสุขภาพดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมป้องกันโรคติดต่อ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยสุขภาพดีพัฒนาการสมวัย จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนุจรินทร์ หละดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......