โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสกุล เล็งลัคน์กุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 155,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กลุ่มวัยทำงานเป็นกลุ่มประชากรที่อยู่ในช่วงวัย 15 - 59 นับได้ว่าเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ คือเป็นกำลังสำคัญในการหารายได้เพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว และเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร ทำให้เกิดการพัฒนาองค์กร พัฒนาประเทศ ดังนั้นการมีสุขภาพที่ดีในวัยทำงานจึงเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกมิติแต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การดำรงชีวิตและเทคโนโลยีใน“โลกปัจจุบัน” ส่งผลให้เกิดการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจสูง คนทำงานส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่กับงานมากกว่า 8-10 ชั่วโมงการใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในสถานที่ทำงานมากกว่าที่บ้านและต้องใช้ชีวิตอยู่บนความเร่งรีบ ก่อให้เกิดความเหนื่อยล้าจากภาระงานจนทำให้ละเลยการดูแลสุขภาพโดยรวมของตนเอง เช่น เรื่องการพักผ่อนไม่เพียงพอ ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ มีแนวโน้มการสูบบุหรี่และดื่มสุราเพิ่มขึ้น มีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง ไม่พิถีพิถันในการเลือกรับประทานอาหาร มีความเครียดสูง ขาดทักษะในการจัดการความเครียด ซึ่งความเครียดและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมนี้ทำให้คนวัยทำงานมีความเสี่ยงหรือปัญหาสุขภาพเกิดขึ้นได้ทั้งปัญหาสุขภาพทางกาย สุขภาพจิตเช่นโรคออฟฟิตซินโดรมมีอาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง ปัญหาเกี่ยวกับตา จากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตเป็นเวลานาน ปัญหาสุขภาพจิต เช่น มีความเครียดสะสมวิตกกังวล ซึมเศร้า หรือมีภาวะหมดไฟในการทำงาน (burnout syndromes) นอกจากนี้ยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรค NCDs) ซึ่งโรคในกลุ่มโรค NCDs ที่มีอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงสุด 6 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง
เทศบาลเมืองเบตง มีนโยบายพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การเฝ้าระวังสุขภาพจิตในชุมชน การส่งเสริมการดูแลสุขภาพของประชาชนให้สมบูรณ์แข็งแรง และได้รับบริการสาธารณะอย่างทั่วถึง เท่าเทียม โดยเน้นการป้องกันมากกว่าการรักษา รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองให้เข้มแข็งและซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ข้อที่ 3 การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี และข้อที่ 17 การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนและบุคลากรมีสุขภาพที่ดีอันเป็นจุดเริ่มต้นให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดีในทุกๆ ด้าน โดยเทศบาลเมืองเบตง เป็นแหล่งรวมของคนวัยทำงานจำนวนมากกว่า 200คน ซึ่งบุคลากรจะบางส่วนจะประสบมีปัญหาสุขภาพในหลาย ๆ เรื่อง เช่น โรคออฟฟิศซินโดรม ภาวะเครียด ปัญหาสุขภาพจิต อ้วนลงพุง เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จึงจำเป็นต้องตื่นตัวในเรื่องการดูแลสุขภาพเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดที่ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนต้องร่วมเรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน และสิ่งสำคัญที่สุดคือ การปลูกฝังมุมมองให้รับรู้ร่วมกันว่า "สุขภาวะ" ไม่ใช่แค่เรื่องของความเจ็บป่วยทั้งของตนเอง และคนรอบตัว สุขภาวะที่ดี จะต้องสร้างความสุขเชื่อมโยงถึงกัน คือการช่วยเหลือเกื้อกูล และ พึ่งพาอาศัยของทุกคนในสังคม "สุขภาพ” จึงเป็น เรื่องของคนทุกคนที่ช่วยกันสร้างความเข้าใจและการปฏิบัติที่ถูกต้องด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพซึ่งเป็นการปรับวิถีชีวิตด้านสุขภาพด้วยตนเองนั่นเอง โดยเฉพาะผู้นำและบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านการจัดบริการสาธารณะเพื่อบำบัดทุกข์ บำรุงสุขให้กับประชาชนซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของคนในองค์กร ในชุมชนและสังคมกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรทุกระดับและการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีจึงได้บูรณาการความร่วมมือร่วมกับทุกกอง/ทุกฝ่ายจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค NCDs เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถเข้าถึง เข้าใจ วิเคราะห์ประเมินสุขภาพตนเอง และปรับใช้ข้อมูลความรู้ที่ได้รับ นำไปสู่การปฏิบัติปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิตซินโดรมและโรค NCDs และส่งเสริมให้บุคลากรเกิดพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ดีต่อสุขภาพในระยะยาว มีสุขภาพที่แข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเกิดประสิทธิภาพในการทำงาน นำไปสู่การจัดบริการสาธารณะเพื่อประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเบตงได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งสามารถเป็นต้นแบบ องค์กรสุขภาพดี (Healty Organization) ในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ผู้มาใช้บริการหรือองค์กรอื่น ๆ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 คัดกรองประเมินสุขภาพเบื้องต้น (ตระหนักรู้ภาวะสุขภาพแห่งตน)
- กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
- กิจกรรมที่ 3 นโยบายส่งเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมสถานที่ทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพ เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีและส่งเสริมให้บุคลากรมีพฤติกรรมที่ดีต่อสุขภาพอย่างอย่างยั่งยืน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- บุคลากรเทศบาลได้รับการตรวจประเมินด้านสุขภาพ และมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง
- บุคลากรเทศบาลมีความรอบรู้การดูแลสุขภาพป้องกันการเกิดโรค มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
- บุคลากรเทศบาลมีสุขภาพกายใจที่แข็งแรง สิ่งแวดล้อมในการทำงานดีขึ้นส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน นำไปสู่การจัดบริการสาธารณะเพื่อประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเบตงได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถเป็นต้นแบบองค์กรสุขภาพดี ในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ผู้มาใช้บริการหรือองค์กรอื่น ๆ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงทางด้านสุขภาพและรับรู้สถานะสุขภาพของตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
90.00
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
60.00
3
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับ มาก – มากที่สุด
4
เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : มีบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างน้อยกอง/ฝ่ายละ 1 คน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
200
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น (4) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 คัดกรองประเมินสุขภาพเบื้องต้น (ตระหนักรู้ภาวะสุขภาพแห่งตน) (2) กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) (3) กิจกรรมที่ 3 นโยบายส่งเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมสถานที่ทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพ เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีและส่งเสริมให้บุคลากรมีพฤติกรรมที่ดีต่อสุขภาพอย่างอย่างยั่งยืน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสกุล เล็งลัคน์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสกุล เล็งลัคน์กุล
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-2 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 155,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กลุ่มวัยทำงานเป็นกลุ่มประชากรที่อยู่ในช่วงวัย 15 - 59 นับได้ว่าเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ คือเป็นกำลังสำคัญในการหารายได้เพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว และเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร ทำให้เกิดการพัฒนาองค์กร พัฒนาประเทศ ดังนั้นการมีสุขภาพที่ดีในวัยทำงานจึงเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกมิติแต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การดำรงชีวิตและเทคโนโลยีใน“โลกปัจจุบัน” ส่งผลให้เกิดการแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจสูง คนทำงานส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่กับงานมากกว่า 8-10 ชั่วโมงการใช้ชีวิตส่วนใหญ่ในสถานที่ทำงานมากกว่าที่บ้านและต้องใช้ชีวิตอยู่บนความเร่งรีบ ก่อให้เกิดความเหนื่อยล้าจากภาระงานจนทำให้ละเลยการดูแลสุขภาพโดยรวมของตนเอง เช่น เรื่องการพักผ่อนไม่เพียงพอ ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ มีแนวโน้มการสูบบุหรี่และดื่มสุราเพิ่มขึ้น มีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง ไม่พิถีพิถันในการเลือกรับประทานอาหาร มีความเครียดสูง ขาดทักษะในการจัดการความเครียด ซึ่งความเครียดและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมนี้ทำให้คนวัยทำงานมีความเสี่ยงหรือปัญหาสุขภาพเกิดขึ้นได้ทั้งปัญหาสุขภาพทางกาย สุขภาพจิตเช่นโรคออฟฟิตซินโดรมมีอาการปวดกล้ามเนื้อเรื้อรัง ปัญหาเกี่ยวกับตา จากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ตเป็นเวลานาน ปัญหาสุขภาพจิต เช่น มีความเครียดสะสมวิตกกังวล ซึมเศร้า หรือมีภาวะหมดไฟในการทำงาน (burnout syndromes) นอกจากนี้ยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (โรค NCDs) ซึ่งโรคในกลุ่มโรค NCDs ที่มีอัตราผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตสูงสุด 6 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง
เทศบาลเมืองเบตง มีนโยบายพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การเฝ้าระวังสุขภาพจิตในชุมชน การส่งเสริมการดูแลสุขภาพของประชาชนให้สมบูรณ์แข็งแรง และได้รับบริการสาธารณะอย่างทั่วถึง เท่าเทียม โดยเน้นการป้องกันมากกว่าการรักษา รณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเองให้เข้มแข็งและซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ข้อที่ 3 การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี และข้อที่ 17 การมีส่วนร่วมในการพัฒนา ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนและบุคลากรมีสุขภาพที่ดีอันเป็นจุดเริ่มต้นให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดีในทุกๆ ด้าน โดยเทศบาลเมืองเบตง เป็นแหล่งรวมของคนวัยทำงานจำนวนมากกว่า 200คน ซึ่งบุคลากรจะบางส่วนจะประสบมีปัญหาสุขภาพในหลาย ๆ เรื่อง เช่น โรคออฟฟิศซินโดรม ภาวะเครียด ปัญหาสุขภาพจิต อ้วนลงพุง เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง จึงจำเป็นต้องตื่นตัวในเรื่องการดูแลสุขภาพเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดที่ทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนต้องร่วมเรียนรู้และแก้ไขปัญหาร่วมกัน และสิ่งสำคัญที่สุดคือ การปลูกฝังมุมมองให้รับรู้ร่วมกันว่า "สุขภาวะ" ไม่ใช่แค่เรื่องของความเจ็บป่วยทั้งของตนเอง และคนรอบตัว สุขภาวะที่ดี จะต้องสร้างความสุขเชื่อมโยงถึงกัน คือการช่วยเหลือเกื้อกูล และ พึ่งพาอาศัยของทุกคนในสังคม "สุขภาพ” จึงเป็น เรื่องของคนทุกคนที่ช่วยกันสร้างความเข้าใจและการปฏิบัติที่ถูกต้องด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพซึ่งเป็นการปรับวิถีชีวิตด้านสุขภาพด้วยตนเองนั่นเอง โดยเฉพาะผู้นำและบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ด้านการจัดบริการสาธารณะเพื่อบำบัดทุกข์ บำรุงสุขให้กับประชาชนซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของคนในองค์กร ในชุมชนและสังคมกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรทุกระดับและการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีจึงได้บูรณาการความร่วมมือร่วมกับทุกกอง/ทุกฝ่ายจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค NCDs เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถเข้าถึง เข้าใจ วิเคราะห์ประเมินสุขภาพตนเอง และปรับใช้ข้อมูลความรู้ที่ได้รับ นำไปสู่การปฏิบัติปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิตซินโดรมและโรค NCDs และส่งเสริมให้บุคลากรเกิดพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ดีต่อสุขภาพในระยะยาว มีสุขภาพที่แข็งแรงทั้งร่างกาย จิตใจและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเกิดประสิทธิภาพในการทำงาน นำไปสู่การจัดบริการสาธารณะเพื่อประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเบตงได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งสามารถเป็นต้นแบบ องค์กรสุขภาพดี (Healty Organization) ในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ผู้มาใช้บริการหรือองค์กรอื่น ๆ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
- เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 คัดกรองประเมินสุขภาพเบื้องต้น (ตระหนักรู้ภาวะสุขภาพแห่งตน)
- กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs)
- กิจกรรมที่ 3 นโยบายส่งเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมสถานที่ทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพ เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีและส่งเสริมให้บุคลากรมีพฤติกรรมที่ดีต่อสุขภาพอย่างอย่างยั่งยืน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- บุคลากรเทศบาลได้รับการตรวจประเมินด้านสุขภาพ และมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง
- บุคลากรเทศบาลมีความรอบรู้การดูแลสุขภาพป้องกันการเกิดโรค มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
- บุคลากรเทศบาลมีสุขภาพกายใจที่แข็งแรง สิ่งแวดล้อมในการทำงานดีขึ้นส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน นำไปสู่การจัดบริการสาธารณะเพื่อประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเบตงได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถเป็นต้นแบบองค์กรสุขภาพดี ในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ผู้มาใช้บริการหรือองค์กรอื่น ๆ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงทางด้านสุขภาพและรับรู้สถานะสุขภาพของตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 |
90.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 |
60.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับ มาก – มากที่สุด |
|
|||
4 | เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด : มีบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างน้อยกอง/ฝ่ายละ 1 คน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 200 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น (4) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 คัดกรองประเมินสุขภาพเบื้องต้น (ตระหนักรู้ภาวะสุขภาพแห่งตน) (2) กิจกรรมที่ 2 ฝึกอบรมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) (3) กิจกรรมที่ 3 นโยบายส่งเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมสถานที่ทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพ เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีและส่งเสริมให้บุคลากรมีพฤติกรรมที่ดีต่อสุขภาพอย่างอย่างยั่งยืน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเทศบาลเมืองเบตง พิชิตโรคออฟฟิศซินโดรมและโรค จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสกุล เล็งลัคน์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......