กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองและประเมินความเสี่ยงทางด้านสุขภาพและรับรู้สถานะสุขภาพของตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
90.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
60.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับ มาก – มากที่สุด

 

4 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : มีบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างน้อยกอง/ฝ่ายละ 1 คน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการคัดกรองประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพและมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น (4) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบด้านสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่  1  คัดกรองประเมินสุขภาพเบื้องต้น (ตระหนักรู้ภาวะสุขภาพแห่งตน) (2) กิจกรรมที่ 2  ฝึกอบรมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรมและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) (3) กิจกรรมที่  3  นโยบายส่งเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อมสถานที่ทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพ  เพื่อสร้างสุขภาพที่ดีและส่งเสริมให้บุคลากรมีพฤติกรรมที่ดีต่อสุขภาพอย่างอย่างยั่งยืน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh