กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสมพร สวัสดิ์หิรัญ




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1528-2-03 เลขที่ข้อตกลง 01/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1528-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกคือโรคติดเชื้อไวรัสเดงกี่ ที่มียุงลายเป็นพาหะ ในประเทศไทยไวรัสเดงกี่ พบการติดเชื้อ โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งยุงลายมี ๒ ชนิด ได้แก่ยุงลายสวนและยุงลายบ้านที่พบกันบ่อยที่สุดคือยุงลายบ้าน พบในบ้าน บริเวณรอบบ้าน iยุงลายเพศเมีย หากินในเวลากลางวัน ชอบวางไข่ในน้ำนิ่งที่ค่อนข้างสะอาด กลุ่มเสี่ยงโรคไข้เลือดออก โรคไข้เลือดออกมักพบมากในฤดูฝน ช่วงพฤษภาคมถึงกันยายน พบได้ในทั้งหญิงและชาย แต่จะพบมากในช่วงอายุ ดังนี้ เด็กอายุ ๕-๙ ปี (มากที่สุด) ช่วงอายุ ๑๐-๑๔ ปี (รองลงมา) แรกเกิดถึง ๔ ปี (รองลงมา) ๑๕ ปีขึ้นไป (รองลงมา)อาการของโรคไข้เลือดออก หลังรับเชื้อไวรัสเดงกี่เข้าสู่ร่างกาย จะใช้เวลาประมาณ ๕-๘ วัน อาการของโรคจะปรากฎขึ้น โดยมีไข้สูงนาน ๒-๗วัน อาการของผู้ป่วยไข้เลือดออกมีใข้สูงเฉียบพลัน หน้าแดง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยพบเลือดออกตามลำตัว แขน ขา และมีอาการเบื่ออาหารมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ไม่ดื่มน้ำ ซึม บางรายอาจมีเลือดกำเดาออก ถ่ายเป็นสีดำ อาเจียนมีเลือดปน และมักไม่แสดงอาการหวัด ช่วงอันตรายจะอยู่ช่วงไข้เริ่มลง ๒*๗ วัน โดยทั่วไปจะพบภาวะช็อค หรือทำให้เสียชีวิตในผู้ป่วยบางราย แต่ทั้งนี้โรคไข้เลือดออกสามารถรักษาได้ผลตีถ้าได้รับการวินิจฉัยและรักษาตั้งแต่เริ่มต้นความรุนแรงของโรคไข้เลือดออก ระดับความรุนแรงของไข้เลือดออกมีตั้งแต่ระดับเริ่มมีไข้สูง แต่ยังจะไม่พบจุดเลือดออก โดยระดับนี้สามารถดูและเบื้องตันด้วยการเช็ดตัวบ่อยๆ ดื่มน้ำเยอะๆ ระยะนี้ถ้าผู้ป่วยยังสามารถทานอาหาร ดื่มน้ำได้ ยังไม่ต้องมาโรงพยาบาล(แต่ถ้าทานและดื่มไม่ได้ให้พามานอนโรงพยาบาล เพื่อตรวจและดูแลอย่างใกล้ชิด)หากพบคนไข้ มีชีพจรที่เบาและเร็ว มือเท้าเย็น หน้าซีด กระสับกระส่าย นั่นแสดงว่ามีความดันเลือดต่ำมาก ให้รีบพาไปโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์และตรวจวินิจฉัยโดยเร็วระดับ แรงดันเลือดตกมาก ไม่สามารถวัดค่าได้ หรือการเกิดภาวะช็อค ซึ่งอาการระดับนี้เกิดขึ้นให้รีบพามาโรงพยาบาลในทันที       โรคไข้เลือดออก นับเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศ และจังหวัดตรัง มีการระบาดติดต่อกันหลายปี บางปีมีรายงานผู้ป่วยหลายพันคน และมีความรุนแรงถึงขั้นทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ถึงแม้ว่าปัจจุบันจะมีการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์ที่เจริญก้าวหน้า แต่ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกก็ยังมีตลอด โดยมียุงลายเป็นพาหนะนำโรค มักจะบาดในช่วงฤดูฝนเนื่องจากแหล่งน้ำขังในภาชนะต่างๆจึงเป็นแหล่งเพาพันธ์ยุงลาย ทำให้เพิ่มจำนวนยุงลายซึ่งเป็นพาหนะโรคได้อย่างดีการป้องกันโรคไข้เลือดออก ให้มีประสิทธิภาพนั้น ต้องเตรียมความพร้อมในการกำจัดยุงลายและลูกน้ำยุงลายเพื่อลดพาหะนำโรค โดยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และสารเคมีกำจัดยุงลาย ในส่วนมาตรการป้องกันและกำจัดยุงลายตัวเต็มวัย ก็ต้องมีมาตรการในการป้องกันโดยการประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่ประชาชนให้เกิดความตระหนักในการป้องกันยุงกัด และการกำจัดยุงลายโดยการพ่นหมอกควันทั้งในพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่เกิดโรค เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจหลักของการพ่นหมอกควันที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมโรคไข้เลือดออกที่เกิดขึ้นในพื้นที่ และรวมถึงทุกองค์กร ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน จึงได้จัดทำโครงการ เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้น เพื่อเตรียมพร้อม และลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อโรคและลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชาชนในตำบลเขาปูน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความตระหนัก ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้คณะทำงานทำงานได้เต็มศักยภาพในการป้องกันและควบคมโรคได้ทันท่วงที
  3. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในตำบลเขาปูน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือนบุคคลที่มีความเสี่ยงการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก/กิจกรรมเชิงรุกในชุมชนโดยการพ่นหมอกควันเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก
  2. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือนบุคคลที่มีความเสี่ยงการติดเชื้อ/กิจกรรมเชิงรุกในชุมชนการพ่นหมอกควันเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูนลดลง 2.คณะทำงานได้ทำงานอย่างทันท่วงที่ในการดำเนินการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เสือดออกได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3.ครัวเรือนที่พบผู้ป่วยและพื้นที่ที่มีความเสี่ยงได้รับการดำเนินการพ่นหมอกควันตามมาตรฐานการ ควบคุมโรค ไช้เลือดออก ทำให้อัตราป่วยด้วยโรคใช้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูนลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความตระหนัก ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้คณะทำงานทำงานได้เต็มศักยภาพในการป้องกันและควบคมโรคได้ทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100

 

3 เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในตำบลเขาปูน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนัก ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้คณะทำงานทำงานได้เต็มศักยภาพในการป้องกันและควบคมโรคได้ทันท่วงที (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในตำบลเขาปูน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือนบุคคลที่มีความเสี่ยงการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก/กิจกรรมเชิงรุกในชุมชนโดยการพ่นหมอกควันเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก (2) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือนบุคคลที่มีความเสี่ยงการติดเชื้อ/กิจกรรมเชิงรุกในชุมชนการพ่นหมอกควันเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1528-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมพร สวัสดิ์หิรัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด