โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย ”
เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย
หัวหน้าโครงการ
นายซานูซี วงศ์ปัตน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย
ที่อยู่ เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 04/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักปฏิบัติอย่างหนึ่งของศาสนาอิสลาม คือ การเข้าสุนัตหรือคิตานหรือมาโซะยาวี (ภาษามลายู)เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่มุสลิมทุกคนถือปฏิบัติอย่างเคร่งรัด การเข้าสู่พิธีสุนัตนิยมทำในวัยเด็ก เป็นการรักษาความสะอาดของร่างกายในสมัยก่อนชาวมุสลิมส่วนมากนิยมเข้าพิธีสุนัตหมอแผนโบราณหรือที่มุสลิมเรียกว่า “โต๊ะมูเด็ง” แต่ในปัจุบันเพื่อความปลอดภัยจึงใช้แพทย์แผนปัจจุบันเป็นผู้ทำพิธีการเข้าสุนัตที่ประชาชนในพื้นที่ได้ถือปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องของชาวมุสลิมซึ่งในตามหลักการของศาสนาอิสลามนั้นได้กำหนดไว้เมื่อเด็กอายุประมาณ 7 – 9 ปี ผู้ปกครองต้องจัดทำพิธีเข้า สุนัตหรือคิตานหรือมาโซ๊ะยาวี การเข้าสุนัตคือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออกเพื่อให้สะดวกในการทำความสะอาด ซึ่งการที่ปัสสาวะค้างอยู่ที่อวัยวะเพศนั้นตามหลักการของศาสนาอิสลามถือว่าเป็นสิ่งสกปรก การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นแนวทางปฏิบัติที่ต้องกระทำเพื่อรักษาความสะอาด รวมทั้งช่วยป้องกันและลดปัญหาการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสมารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ HIV ได้ร้อยละ 50 – 60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า smegma หรือขี้เปียกหากมีหนังหุ้ม ไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อ รวมถึงมะเร็งที่องคชาติได้(นพ.อนุพงศ์ ชิตวรากร) นอกจากนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และหากขลิบในเด็กทารกก็จะลดโอกาสการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบก็จะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดอัดตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากบริบทพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ พบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือ “ทำสุนัต” (ภาษามาลายู) มักทำกับหมอบ้าน หรือ”โต๊ะมูเด็ง” จากความเชื้อและประเพณีของชุมชน โดยผู้ปกครองเด็กเชื่อว่าการทำกับแพทย์จะทำให้อวัยวะเพศไม่แข็งแรง การทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่าการทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาทำให้เกิดภาวะช็อคหรือการติดเชื้อ เช่นติดเชื้อตับอักเสบเชื้อ HIV จากการใช้เครื่องมือรวมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือเข้าสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความรู้ ทักษะด้านการขลิบหนังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อเพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการที่ปลอดภัยและคุณภาพยิ่งขึ้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัยเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโยในกลุ่มเด็กวัยเรียนเยาวชนชาย จึงได้จัดทำโครงการสุนัต(ขลิบ)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อให้กับผู้ปกครองและเด็ก
- 2.บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวขนมุสลิม ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก
- 3.เพื่อให้เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
- กิจกรรมขลิบหุ้มปลายอวัยวะเพศชายโดยใช้ พื้นที่ปราศจากการติดเชื้อ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
135
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนในตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายโดยสามารถลดภาวะเสี่ยงของการเลือดออก (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง)และการติดเชื้อรวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ในชุมชน เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อที่เกิดขึ้นภายหลัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อให้กับผู้ปกครองและเด็ก
ตัวชี้วัด : 1.เยาวชนและผู้ปกครอง มีความเข้าใจถึงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
0.00
0.00
2
2.บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวขนมุสลิม ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก
ตัวชี้วัด : 2.เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้รับบริการขลิบอวัยวะเพศชายได้อย่างถูกต้อง ช่วยป้องกัน ภาวการณ์ติดเชื้อ ภาวะเลือดออกมาก
0.00
3
3.เพื่อให้เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : 3.เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้รับบริการด้านการส่งเสริม ป้องกันโรค และมีการติดตามหลังจากขลิบ จากที่ทีมแพทย์จันทร์เซี่ยว
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
135
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
135
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อให้กับผู้ปกครองและเด็ก (2) 2.บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวขนมุสลิม ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (3) 3.เพื่อให้เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค (3) กิจกรรมขลิบหุ้มปลายอวัยวะเพศชายโดยใช้ พื้นที่ปราศจากการติดเชื้อ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซานูซี วงศ์ปัตน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย ”
เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย
หัวหน้าโครงการ
นายซานูซี วงศ์ปัตน
กันยายน 2568
ที่อยู่ เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 04/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักปฏิบัติอย่างหนึ่งของศาสนาอิสลาม คือ การเข้าสุนัตหรือคิตานหรือมาโซะยาวี (ภาษามลายู)เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่มุสลิมทุกคนถือปฏิบัติอย่างเคร่งรัด การเข้าสู่พิธีสุนัตนิยมทำในวัยเด็ก เป็นการรักษาความสะอาดของร่างกายในสมัยก่อนชาวมุสลิมส่วนมากนิยมเข้าพิธีสุนัตหมอแผนโบราณหรือที่มุสลิมเรียกว่า “โต๊ะมูเด็ง” แต่ในปัจุบันเพื่อความปลอดภัยจึงใช้แพทย์แผนปัจจุบันเป็นผู้ทำพิธีการเข้าสุนัตที่ประชาชนในพื้นที่ได้ถือปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่องของชาวมุสลิมซึ่งในตามหลักการของศาสนาอิสลามนั้นได้กำหนดไว้เมื่อเด็กอายุประมาณ 7 – 9 ปี ผู้ปกครองต้องจัดทำพิธีเข้า สุนัตหรือคิตานหรือมาโซ๊ะยาวี การเข้าสุนัตคือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออกเพื่อให้สะดวกในการทำความสะอาด ซึ่งการที่ปัสสาวะค้างอยู่ที่อวัยวะเพศนั้นตามหลักการของศาสนาอิสลามถือว่าเป็นสิ่งสกปรก การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย เป็นแนวทางปฏิบัติที่ต้องกระทำเพื่อรักษาความสะอาด รวมทั้งช่วยป้องกันและลดปัญหาการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ จากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายสมารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ HIV ได้ร้อยละ 50 – 60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า smegma หรือขี้เปียกหากมีหนังหุ้ม ไม่สามารถเปิดออกล้างได้ จะทำให้สารดังกล่าวคั่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดกลิ่น การติดเชื้อ รวมถึงมะเร็งที่องคชาติได้(นพ.อนุพงศ์ ชิตวรากร) นอกจากนี้การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็งองคชาติ และหากขลิบในเด็กทารกก็จะลดโอกาสการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กได้ด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบก็จะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดอัดตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูกด้วย จากบริบทพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ พบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือ “ทำสุนัต” (ภาษามาลายู) มักทำกับหมอบ้าน หรือ”โต๊ะมูเด็ง” จากความเชื้อและประเพณีของชุมชน โดยผู้ปกครองเด็กเชื่อว่าการทำกับแพทย์จะทำให้อวัยวะเพศไม่แข็งแรง การทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณีที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่าการทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาทำให้เกิดภาวะช็อคหรือการติดเชื้อ เช่นติดเชื้อตับอักเสบเชื้อ HIV จากการใช้เครื่องมือรวมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือเข้าสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยทีมบุคลากรทางการแพทย์ที่มีความรู้ ทักษะด้านการขลิบหนังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อเพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการที่ปลอดภัยและคุณภาพยิ่งขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ตามสิทธิประโยชน์ของแต่ละกลุ่มวัยเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโยในกลุ่มเด็กวัยเรียนเยาวชนชาย จึงได้จัดทำโครงการสุนัต(ขลิบ)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อให้กับผู้ปกครองและเด็ก
- 2.บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวขนมุสลิม ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก
- 3.เพื่อให้เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค
- กิจกรรมขลิบหุ้มปลายอวัยวะเพศชายโดยใช้ พื้นที่ปราศจากการติดเชื้อ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 135 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนในตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้รับการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายโดยสามารถลดภาวะเสี่ยงของการเลือดออก (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง)และการติดเชื้อรวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ในชุมชน เพื่อป้องกันโรคติดเชื้อที่เกิดขึ้นภายหลัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อให้กับผู้ปกครองและเด็ก ตัวชี้วัด : 1.เยาวชนและผู้ปกครอง มีความเข้าใจถึงการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อ |
0.00 | 0.00 |
|
|
2 | 2.บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวขนมุสลิม ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก ตัวชี้วัด : 2.เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้รับบริการขลิบอวัยวะเพศชายได้อย่างถูกต้อง ช่วยป้องกัน ภาวการณ์ติดเชื้อ ภาวะเลือดออกมาก |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค ตัวชี้วัด : 3.เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้รับบริการด้านการส่งเสริม ป้องกันโรค และมีการติดตามหลังจากขลิบ จากที่ทีมแพทย์จันทร์เซี่ยว |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 135 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 135 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนัก ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อให้กับผู้ปกครองและเด็ก (2) 2.บริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวขนมุสลิม ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ และภาวะออกเลือดมาก (3) 3.เพื่อให้เยาวชน ในตำบลปุโละปุโย อำภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี สามารถเข้าถึงบริการด้านการส่งเสริมและป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ (การป้องกันโรคติดต่อ) แก่เด็กและเยาวชนเป้าหมาย รวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในการป้องกันโรค (3) กิจกรรมขลิบหุ้มปลายอวัยวะเพศชายโดยใช้ พื้นที่ปราศจากการติดเชื้อ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเข้าสุนัตหมู่เพื่อป้องกันโรคติดต่อ อบต.ปุโละปุโย จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซานูซี วงศ์ปัตน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......