กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อสม.ชวนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ”
เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย



หัวหน้าโครงการ
นางแวแอเสาะ แวสุหลง




ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ชวนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3069-10(2)-08 เลขที่ข้อตกลง 08/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.ชวนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ชวนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.ชวนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่รับผิดชอบตำบลปุโละปุโย รหัสโครงการ 68-L3069-10(2)-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันระบบสุขภาพของคนไทยที่เน้น “สร้าง” มากกว่า “ซ่อม” สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นสุขภาพเชิงรุก และการเสริมสร้างสุขภาพ เนื่องจากประชาชนป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณและค่าใช้จ่าย ในการรักษา จึงได้มีการรณรงค์ ให้ประชาชนหันมาใส่ใจในการออกกำลังกาย เพื่อป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ ตามที่รัฐบาลกำหนดนโยบาย 3 อ.2 สเป็นหลักในการสร้างเสริมสุขภาพ แก่ประชาชน ประกอบด้วย การออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์ บุหรี่ และสุรา ซึ่งเริ่มจากจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย เป็นเรื่องแรกและบูรนาการกับกิจกรรมอื่นๆ ที่จำเป็นในการสร้างสุขภาพ ของบุคคล ครอบครัวและชุมชน ออกกำลังกาย สม่ำเสมอด้วยการออกกำลังกายแบบต่างๆ เช่น การเดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ เต้นแอโรบิค สืบเนื่องจากการจัดโครงการในปีที่แล้ว ประชาชนให้การตอบรับอย่างดีเยี่ยม ได้รู้แนวทาง วิธีและท่าต่างๆในการออกกำลังกาย ส่งผลให้มีร่างกายแข็งแรง อารมณ์แจ่มใส เบิกบาน และมีความสนุกสนาน เมื่อได้มีการรวมตัวกันออกกำลังกาย จึงมีความต้องการอยากให้มีการจัดโครงการอย่างต่อเนื่องทุกปี ดังนั้นชมรม อสม.ในเขต รพ.สต.บ้านท่ากูโบ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายต่อเนื่องเป็นประจำ จึงจัดโครงการนี้ต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพ และสมรรถภาพแข็งแรงขึ้น
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย ที่ถูกต้องและเหมาะสม
  3. เพื่อให้ประชาชนเห็นถึงความสำคัญของการส่งเริมสุขภาพด้วยกรออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพและการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง
  2. การรณรงค์ /ประชาชนสัมพันธ์/ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย
  3. ร่วมออกกำลังกายพร้อมเพรียงกัน สัปดาห์ 3 วันๆละ 45 นาที

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้การออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 80
  2. ประชาชนมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ3 วันๆละ 30 นาที
  3. ประชาชนเข้าร่วมโครงการมีดัจนีมวลกาย หรือ รอบเอวลดลง ร้อยละ 20

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพ และสมรรถภาพแข็งแรงขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที
50.00 80.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย ที่ถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนรู้ถึงหลักในการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม
50.00 80.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนเห็นถึงความสำคัญของการส่งเริมสุขภาพด้วยกรออกกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าร่วมโครงการมีดัจนีมวลกาย หรือ รอบเอวลดลง
5.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพ และสมรรถภาพแข็งแรงขึ้น (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย ที่ถูกต้องและเหมาะสม (3) เพื่อให้ประชาชนเห็นถึงความสำคัญของการส่งเริมสุขภาพด้วยกรออกกำลังกาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพและการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยง (2) การรณรงค์ /ประชาชนสัมพันธ์/ให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย (3) ร่วมออกกำลังกายพร้อมเพรียงกัน สัปดาห์ 3 วันๆละ 45  นาที

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม.ชวนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3069-10(2)-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางแวแอเสาะ แวสุหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด