โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน ”
ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุรพล ทองบุญ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน
ที่อยู่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจและสังคมทำให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจค่าครองชีพสูงขึ้นประชาชนมีรายได้น้อยวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพเปลี่ยนไปเกิดพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมออกกำลังกายน้อยลงทำให้เกิดโรคต่างๆตามมามากมายโดยเแพาะโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ คึอโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงประมาณ5 ล้านคน อัตราป่วยต่อเเสนประชากร 860.53 ส่วนโรคเบาหวานพบประมาณ 3 ล้านคนอัตราป่วยต่อเเสนประชากร 675.74 (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2551)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ พบว่าโรคเรื้อรัง 2อันดับแรกคือ โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหว่าน ซึ่งเป็นโรคที่ไม่หายขาด แต่สามารถทำให้อาการควบคุมโรคได้รับการรักษาต่อเนื่องในปีงบประมาณ2567โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง มีประชาชนซึ่งป่วยเป็นโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนเเล้วจำนวน 205รายและรับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำจำนวน62รายและโรคความดันโลหิตสูงขึ้นทะเบียนจำนวน471 ราย และรับยาต่อเนื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ จำนวน 165 รายผู้ป่วยมีภาวะไขมันในเลือดสูงจำนวน13 ราย ซึ่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนมากขึ้นทุกปีและเกิดโรคแทรกซ้อนเพิ่มขึ้นเช่นกัน ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่เพื่อให้ผู่ป่วยได้รับบริการรวดเร็ว ทั่วถึงและต่อเนื่องลดภาวะค่าใช้จ่ายให้เเก่ผู้ป่วยลดภาวะแทรกซ้อนของโรค และลดควาดแอดอัดผู้ป่วยที่รับยาโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลพัทลุง ทงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำเห็นความสำคัญจะต้องดำเนินการแก้ปัญหาดังกว่าจึงได้จัดทำโครงการรักษ์ไตป้องกันภัยโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่องมีความรู้ความเข้าใจการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
- เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมหรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้การทำงานของไตดีขึ้น/มีภาวะน้ำตาลสะสมในเลือดลดลง
- เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม หรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)ซ้ำจำนวน1ครั้ง หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)
- การอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู่ป่วยเรื้อรัง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยา รพ.สต.ตำบลลำปำ มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเเทรกซ้อนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้องสม่ำเสมอ สามารถกลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ40และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
2.อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 5
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่องมีความรู้ความเข้าใจการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วย จำนวน 50คนที่มารับยาโรคเรื้อรังที่ รพสต.ตำบลลำปำได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมกับวิถิชีวิตของตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
2
เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมหรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้การทำงานของไตดีขึ้น/มีภาวะน้ำตาลสะสมในเลือดลดลง
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยจำนวน 50คนที่มีภาวะไตเสื่อมหรือผู้ป่วยที่มีภาวะมีน้ำตาลสะสมในเลือดสูง ค่าผลตรวจเลือดดีขึ้น ร้อยละ50
3
เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม หรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)ซ้ำจำนวน1ครั้ง หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม หรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลสะสมในเลือดสูงได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูค่าการมำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)ซ้ำจำนวน1ครั้งหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่องมีความรู้ความเข้าใจการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมหรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้การทำงานของไตดีขึ้น/มีภาวะน้ำตาลสะสมในเลือดลดลง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม หรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)ซ้ำจำนวน1ครั้ง หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) (2) การอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู่ป่วยเรื้อรัง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุรพล ทองบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน ”
ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุรพล ทองบุญ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจและสังคมทำให้ประชาชนได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจค่าครองชีพสูงขึ้นประชาชนมีรายได้น้อยวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพเปลี่ยนไปเกิดพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสมออกกำลังกายน้อยลงทำให้เกิดโรคต่างๆตามมามากมายโดยเแพาะโรคเรื้อรังที่เป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ คึอโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงประมาณ5 ล้านคน อัตราป่วยต่อเเสนประชากร 860.53 ส่วนโรคเบาหวานพบประมาณ 3 ล้านคนอัตราป่วยต่อเเสนประชากร 675.74 (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2551) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ พบว่าโรคเรื้อรัง 2อันดับแรกคือ โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหว่าน ซึ่งเป็นโรคที่ไม่หายขาด แต่สามารถทำให้อาการควบคุมโรคได้รับการรักษาต่อเนื่องในปีงบประมาณ2567โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง มีประชาชนซึ่งป่วยเป็นโรคเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนเเล้วจำนวน 205รายและรับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำจำนวน62รายและโรคความดันโลหิตสูงขึ้นทะเบียนจำนวน471 ราย และรับยาต่อเนื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ จำนวน 165 รายผู้ป่วยมีภาวะไขมันในเลือดสูงจำนวน13 ราย ซึ่งผู้ป่วยโรคเรื้อรังในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนมากขึ้นทุกปีและเกิดโรคแทรกซ้อนเพิ่มขึ้นเช่นกัน ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่เพื่อให้ผู่ป่วยได้รับบริการรวดเร็ว ทั่วถึงและต่อเนื่องลดภาวะค่าใช้จ่ายให้เเก่ผู้ป่วยลดภาวะแทรกซ้อนของโรค และลดควาดแอดอัดผู้ป่วยที่รับยาโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลพัทลุง ทงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำเห็นความสำคัญจะต้องดำเนินการแก้ปัญหาดังกว่าจึงได้จัดทำโครงการรักษ์ไตป้องกันภัยโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่องมีความรู้ความเข้าใจการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
- เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมหรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้การทำงานของไตดีขึ้น/มีภาวะน้ำตาลสะสมในเลือดลดลง
- เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม หรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)ซ้ำจำนวน1ครั้ง หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)
- การอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู่ป่วยเรื้อรัง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยา รพ.สต.ตำบลลำปำ มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคเเทรกซ้อนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้องสม่ำเสมอ สามารถกลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ40และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง 2.อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 5
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่องมีความรู้ความเข้าใจการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วย จำนวน 50คนที่มารับยาโรคเรื้อรังที่ รพสต.ตำบลลำปำได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมกับวิถิชีวิตของตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมหรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้การทำงานของไตดีขึ้น/มีภาวะน้ำตาลสะสมในเลือดลดลง ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยจำนวน 50คนที่มีภาวะไตเสื่อมหรือผู้ป่วยที่มีภาวะมีน้ำตาลสะสมในเลือดสูง ค่าผลตรวจเลือดดีขึ้น ร้อยละ50 |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม หรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)ซ้ำจำนวน1ครั้ง หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม หรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลสะสมในเลือดสูงได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูค่าการมำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)ซ้ำจำนวน1ครั้งหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยรับยาต่อเนื่องมีความรู้ความเข้าใจการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมหรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้การทำงานของไตดีขึ้น/มีภาวะน้ำตาลสะสมในเลือดลดลง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม หรือผู้ป่วยที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C)ซ้ำจำนวน1ครั้ง หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การตรวจเลือดเพื่อดูค่าการทำงานของไต(GFR)และค่าน้ำตาลสะสมในเลือด(HbA1C) (2) การอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มผู่ป่วยเรื้อรัง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรักษ์ไต ป้องกันภัยโรคแทรกซ้อน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุรพล ทองบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......