กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือด ”
ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายสุรพล ทองบุญ




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือด

ที่อยู่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 12/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำปำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพที่ดี เริ่มต้นที่การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง การที่จะมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องต้องอาศัยตัวเราเองและการมีส่วนร่วมของครอบครัว และชุมชนเป็นสำคัญ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยให้ความสำคัญกับกรอบแนวความคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนจะเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างยั่งยืน สุขภาพของประชาชนไทยจะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบันและในอนาคตปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคมสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหาเช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกายพฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติดปัญหาสุขภาพจิตและพฤติกรรมเสี่ยงจากการประกอบอาชีพภาคอุตสหกรรม เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศนโยบาย ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญคือการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ ส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย เพื่อให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3อ.2ส.(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สูบบุหรี่ ดื่มสุรา) เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังก่ารตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โะรคหัวใจและหลอดเลือดสมองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต. ลำปำมีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 205 ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 471 ราย ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดจำนวน 13 ราย และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 30 ราย ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำปำ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือด ซึ่งได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหหวาน ภาวะไขมันในเลือดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคอ้วน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและตระหนักในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อควบคุมและป้องกันการเกิดโรคดังกว่า ทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกคนมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดตามและอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 80 คน
  2. เจาะเลือดกลุ่มเสี่ยงเพื่อตรวจหาไขมันในเลือด
  3. ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงสูงที่ผลเลือดผิดปกติเพื่อพบเเพทย์วินิจฉัย
  4. ขึ้นทะเบียนผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงทุกคนมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้องสม่ำเสมอ สมารถกลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ 40และกลุ่มเสี่ยงทุกคนได้รับหารดูแลอย่างต่อเนื่อง 2.อัตราการเกิดโรคหลอดเลือดรายใหม่ลดลงไม่เกินร้อยละ5


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกคนมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน80 คนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนเอง สามารถกลับสู่ภาวะปกติมากกว่าร้อยละ40

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรครายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงไม่เกินร้อยละ 5

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกคนมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ถูกต้อง (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดตามและอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 80 คน (2) เจาะเลือดกลุ่มเสี่ยงเพื่อตรวจหาไขมันในเลือด (3) ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงสูงที่ผลเลือดผิดปกติเพื่อพบเเพทย์วินิจฉัย (4) ขึ้นทะเบียนผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจ สร้างเสริมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุรพล ทองบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด