โครงการพัฒนาระบบคัดกรองและดูแลผู้ติดยาเสพติดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหิน
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาระบบคัดกรองและดูแลผู้ติดยาเสพติดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหิน |
รหัสโครงการ | 68-L1506-01-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหิน |
วันที่อนุมัติ | 25 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 11,600.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางราตรี ทวิสุวรรณ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาชุมเห็ด อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.477,99.822place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด 2.เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน 3.เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานราชการกับชุมชน ในการร่วมกันต่อต้านยาเสพติด 1.กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด ร้อยละ 80 2.กลุ่มเป้าหมายมีจิตสำนึก ตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อร่างกาย สุขภาพอนามัย 3.จีดตั้งศูนย์คัดกรองและดูแลผู้ติดยาเสพติดร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนหิน |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.เด็ก เยาวชน และประชาชน มีความตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติดที่มีต่อตนเองและผู้อื่น 2.เด็ก เยาวชน และประชาชน มีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 3.เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการต่อต้านยาเสพติดระหว่างภาครัฐ โรงเรียน และชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ม.ค. 2568 11:23 น.