โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 ”
หมู่ที่ 1-13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 1-13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3321-1-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1-13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1-13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง รหัสโครงการ 68-L3321-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 69,590.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อ ที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและเกิดความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอดและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบ รพ.สตปันแต ในปี๒๕61 พบว่ามีผู้ป่วย จำนวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 113.73 ต่อแสนประชากร และในปี 2562 พบว่ามีผู้ป่วย จำนวน 44 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 709.67 ต่อแสนประชากรและปี 2563 พบว่ามีผู้ป่วย จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 129.68 ต่อแสนประชากรและในปี 2564 พบผู้ป่วยจำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 15.10 ต่อแสนประชากร ปี 2565 ไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2566 พบผู้ป่วย จำนวน 9 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 145.16 ต่อแสนประชากร และในปี 2567 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 26 รายคิดเป็นอัตราป่วย 371.95 ต่อแสนประชากรผู้ซึ่งถือได้ว่ามีการระบาดของโรคอยู่ แต่ไม่มีการเสียชีวิตเนื่องจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคและรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องทันเวลา ทำให้สามารถลดและป้องกันการเสียชีวิตได้ การมีส่วนร่วมของระบบสุขภาพ ภาคประชาชน ซึ่งประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ,อสม.,อบต. กรรมการหมู่บ้าน ได้ร่วมกันทำการออกสำรวจ ควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยอาศัยกลวิธี การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนร่วมมือ ทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการควบคุมโรค เพื่อให้การดำเนินกิจกรรม เป็นไปอย่างต่อเนื่องและสามารถควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ลดจำนวนการเกิดผู้ป่วยรายใหม่/ป้องกันผู้ป่วยตาย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชน ในกลุ่มดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มีแผนปฏิบัติการในการป้องกันและควบคุมโรค ในระดับอำเภอและพื้นที่
- เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้มีมาตรการทางสังคมการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออ
- เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินเกณฑ์ (ค่าHI น้อยกว่า 5ค่า CI = 0)
- อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ
- 2.การควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
4,323
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
2. ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและ มีพฤติกรรมที่
ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
3. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
4. ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ทำให้
สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้มีแผนปฏิบัติการในการป้องกันและควบคุมโรค ในระดับอำเภอและพื้นที่
ตัวชี้วัด : มีแผนปฏิบัติการไข้เลือดออก 1 แผน
100.00
100.00
2
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
100.00
100.00
3
เพื่อให้มีมาตรการทางสังคมการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออ
ตัวชี้วัด : มีมาตรการชุมชนครบทั้ง 13 หมู่บ้าน
100.00
100.00
4
เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินเกณฑ์ (ค่าHI น้อยกว่า 5ค่า CI = 0)
ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ (CI) มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (HIน้อยกว่า 5 , CI = 0)
10.00
5.00
5
อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
ตัวชี้วัด : - ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ (CI) มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (HIน้อยกว่า 5 , CI = 0)ในพื้นที่เสี่ยงสูง/พบรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก
- อัตราการป่วยไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง
28.12
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
4323
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
4,323
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีแผนปฏิบัติการในการป้องกันและควบคุมโรค ในระดับอำเภอและพื้นที่ (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อให้มีมาตรการทางสังคมการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออ (4) เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินเกณฑ์ (ค่าHI น้อยกว่า 5ค่า CI = 0) (5) อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ (2) 2.การควบคุมโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3321-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 ”
หมู่ที่ 1-13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 1-13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3321-1-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 1-13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1-13 ต.ปันแต อ.ควนขนุน จ.พัทลุง รหัสโครงการ 68-L3321-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 69,590.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อ ที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและเกิดความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอดและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบ รพ.สตปันแต ในปี๒๕61 พบว่ามีผู้ป่วย จำนวน 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 113.73 ต่อแสนประชากร และในปี 2562 พบว่ามีผู้ป่วย จำนวน 44 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 709.67 ต่อแสนประชากรและปี 2563 พบว่ามีผู้ป่วย จำนวน 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 129.68 ต่อแสนประชากรและในปี 2564 พบผู้ป่วยจำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 15.10 ต่อแสนประชากร ปี 2565 ไม่พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2566 พบผู้ป่วย จำนวน 9 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 145.16 ต่อแสนประชากร และในปี 2567 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 26 รายคิดเป็นอัตราป่วย 371.95 ต่อแสนประชากรผู้ซึ่งถือได้ว่ามีการระบาดของโรคอยู่ แต่ไม่มีการเสียชีวิตเนื่องจากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยโรคและรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องทันเวลา ทำให้สามารถลดและป้องกันการเสียชีวิตได้ การมีส่วนร่วมของระบบสุขภาพ ภาคประชาชน ซึ่งประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ,อสม.,อบต. กรรมการหมู่บ้าน ได้ร่วมกันทำการออกสำรวจ ควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย โดยอาศัยกลวิธี การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนร่วมมือ ทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการควบคุมโรค เพื่อให้การดำเนินกิจกรรม เป็นไปอย่างต่อเนื่องและสามารถควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ลดจำนวนการเกิดผู้ป่วยรายใหม่/ป้องกันผู้ป่วยตาย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชน ในกลุ่มดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออกโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2568
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มีแผนปฏิบัติการในการป้องกันและควบคุมโรค ในระดับอำเภอและพื้นที่
- เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้มีมาตรการทางสังคมการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออ
- เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินเกณฑ์ (ค่าHI น้อยกว่า 5ค่า CI = 0)
- อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ
- 2.การควบคุมโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 4,323 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้เหลือไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 2. ทำให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและ มีพฤติกรรมที่ ถูกต้องเหมาะสม การป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก 3. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 4. ทำให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ทำให้ สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน โรงเรียนให้น้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้มีแผนปฏิบัติการในการป้องกันและควบคุมโรค ในระดับอำเภอและพื้นที่ ตัวชี้วัด : มีแผนปฏิบัติการไข้เลือดออก 1 แผน |
100.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก |
100.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อให้มีมาตรการทางสังคมการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออ ตัวชี้วัด : มีมาตรการชุมชนครบทั้ง 13 หมู่บ้าน |
100.00 | 100.00 |
|
|
4 | เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินเกณฑ์ (ค่าHI น้อยกว่า 5ค่า CI = 0) ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ (CI) มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (HIน้อยกว่า 5 , CI = 0) |
10.00 | 5.00 |
|
|
5 | อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี ตัวชี้วัด : - ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในภาชนะ (CI) มีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน (HIน้อยกว่า 5 , CI = 0)ในพื้นที่เสี่ยงสูง/พบรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก - อัตราการป่วยไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง |
28.12 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 4323 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 4,323 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีแผนปฏิบัติการในการป้องกันและควบคุมโรค ในระดับอำเภอและพื้นที่ (2) เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อให้มีมาตรการทางสังคมการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออ (4) เพื่อให้ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ไม่เกินเกณฑ์ (ค่าHI น้อยกว่า 5ค่า CI = 0) (5) อัตราป่วยลดลงร้อยละ 20 จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ (2) 2.การควบคุมโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ : ปฏิบัติการควบคุมโรคไข้เลือดออก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3321-1-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......