แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)
เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator) | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต (Output) | ผลลัพธ์ (Outcome) | ผลกระทบ (Impact) | อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนอายุ 35 ปี ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงมากกว่าร้อยละ 95 |
19.63 | 95.00 | ||||
2 | เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง (3อ 2ส + อ้วน/น้ำหนักเกิน) ในประชากร/ชุมชน ตัวชี้วัด : -กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องตามหลัก 3อ 2ส -ลดกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง -ลดอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ |
19.63 | 85.00 | ||||
3 | 3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยต่อโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มสงสัยป่วยมีความรอบรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ 2ส ร้อยละ 90 |
10.36 | 90.00 | ||||
4 | เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : - ลดกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง - ลดอัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ |
10.36 | 20.00 | ||||
5 | เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (หัวใจ ไต โรคหลอดเลือดสมอง ซึมเศร้า) และลดความพิการในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ในการดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อน และได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนโรคความดันโลหิตสูงตามมาตรฐานการดูแลได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจไต มากกว่า ร้อยละ 80 ได้รับการตรวจMAU ตามเกณฑ์/ประเมิน CVD RISK มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 90 |
42.91 | 90.00 | ||||
6 | เพื่อลดอัตราการตายจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง |
42.91 | 20.00 |