โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2995-1-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาหยุดพระ |
วันที่อนุมัติ | 14 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 18,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวกามารียะ สาแม |
พี่เลี้ยงโครงการ | คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านกลาง |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.839,101.521place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่สามารถติดต่อกันโดยมียุงเป็นพาหะนำโรคเป็นโรคที่มีความรุนแรงและยังไม่มียารักษา เพียงรักษาตามอาการเท่านั้นทำให้มีการเสียชีวิตเกิดขึ้นในระหว่างการรักษา เป็นโรคที่เกิดขึ้นแล้วต้องอาศัยการควบคุมโรคอย่างเร่งด่วนและมีประสิทธิภาพเพื่อให้การควบคุมโรคได้สถานการณ์โรคไข้เลือดออกระดับประเทศข้อมูล ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2567 ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 94,180 ราย มีผู้เสียชีวิต 74 ราย ระดับเขตมีผู้ป่วยจำนวน12,364ราย มีผู้เสียชีวิต 8ราย จังหวัดปัตตานีมีผู้ป่วยจำนวน2,129 รายเสียชีวิดมีผู้เสียชีวิต 1ราย และเป็นจังหวัดที่มีผู้ป่วยสูงสุด เป็นอันดับ 8 ของประเทศ และตำบลบ้านกลางในรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปีการระบาดปัจจุบัน จำนวน 14 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 666.34ต่อแสนประชากรซึ่งเป็นอัตราป่วยที่สูงมาก ในขณะที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ มีข้อจำกัดในเรื่องทรัพยากรในการควบคุมโรค ไม่มีเครื่องพ่นหมอกควัน ทรายอะเบทมีไม่เพียงพอต่อการใช้ควบคุมโรค ไม่มีโลชั่นและสเปรย์กันยุง ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้มีความจำเป็นในการช่วยควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพ มีความทันเวลาตามมาตรการการ 30 3 1 การป้องกันโรคไข้เลือดออกของกระทรวงสาธารณสุข นอกจากนี้องค์ความรู้ของภาคีเครือข่ายในการควบคุมโรคไข้เลือดออกก็มีความสำคัญไม่แพ้กัน อาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่นับเป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญอันดับต้นๆ ในการควบคุมโรคจึงมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับการฟื้นฟูความรู้ให้มีความทันสมัย มีความรอบรู้ เพื่อให้สามารถไปปฏิบัติและแนะนำแก่ประชาชนในพื้นที่
จากสถานการณ์การเกิดโรคข้างต้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระมองเห็นความสำคัญของปัญหาเหล่านี้ ในการจึงได้จัดทำ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
2.เพื่อความต่อเนื่องและทันเวลาในการควบคุมโรคในพื้นที่
3.เพื่อลดการระบาดและลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
4.เพื่อให้ค่า HI CI พื้นที่เท่ากับ 0
5.มีอุปกรณ์และทรัพยากรเพียงพอต่อความจำเป็นในการควบคุมโรค
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
2.เกิดความต่อเนื่องและทันเวลาในการควบคุมโรคในพื้นที่
3.ลดการระบาดและลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก
4.ค่า HI CI พื้นที่เท่ากับ 0
5.มีอุปกรณ์และทรัพยากรเพียงพอต่อความจำเป็นในการควบคุมโรค
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ม.ค. 2568 15:50 น.