กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ


“ โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ตำบลนาพละ ”

ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารีสีนาประธาน อสม. หมู่ที่ 3

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ตำบลนาพละ

ที่อยู่ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61- L1496 - 02-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ตำบลนาพละ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ตำบลนาพละ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ตำบลนาพละ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาพละ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61- L1496 - 02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาพละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีความทันสมัยอีกทั้งการเปลี่ยนแปลง อันเกิดจากนโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลในแต่ละยุคแต่ละสมัยตลอดจนการเข้าถึงบริการของรัฐยามเจ็บป่วยของประชาชนที่เสมอภาคและเท่าเทียมกันในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าทำให้สถานภาพด้านสุขภาพและแบบแผนพฤติกรรมการเจ็บป่วยของประชาชนเปลี่ยนไปดังจะเห็นได้จากการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากตัวเชื้อโรคสิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมและสุขวิทยาส่วนบุคคลมีแนวโน้มลดลงแต่การเจ็บป่วยด้วยโรคที่ไม่ติดต่ออันเกี่ยวเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิตกลับมีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคมะเร็งโรคเบาหวานและอุบัติเหตุที่มีอัตราการเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้นและเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆของประเทศ โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นกลุ่มโรคเรื้อรังที่มีจำนวนผู้ป่วยมากที่สุดเป็นอันดับ1 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาพละและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี รายงานระบาดวิทยาของทั่วประเทศที่มีอัตราความชุกอยู่ที่ร้อยละ 2.5 รวมไปถึงทุกประเทศทั่วโลก ที่พบอัตราการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ธิติ สนับบุญ:การดูแลเบาหวานแบบองค์กรรวม) โดยพบว่าอุบัติการณ์และความชุกของโรคเบาหวานชนิดที่ 2นั้นในปี ค.ศ. 2012จะมีจำนวนอย่างน้อย 220ล้านคนและ 300ล้านคน ในปี ค.ศ. 2025อัตราการเพิ่มจะอยู่ที่ประมาณ 35 %ซึ่งจะเป็นอัตราที่สูงมากในประเทศที่กำลังพัฒนา และพบตัวเลขการเกิดโรคเบาหวานและโรคอ้วนมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญซึ่งอาจเป็นเพราะการดำเนินชีวิตของผู้คนต่าง ๆ ได้เปลี่ยนแปลงไป เช่น มีการออกกำลังกายลดลง และสัดส่วนของอาหารที่รับประทานเปลี่ยนแปลงทำให้ส่งผลต่อโรคอ้วนและโรคเบาหวานตามมา การคัดกรองและป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีเป้าหมายสำคัญ คือ สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายสุขภาพในระยะยาวโดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค
การตรวจค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้นเพื่อให้ผู้ป่วยรู้จักวิธีการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องจะช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคอื่นๆที่จะตามมาได้เป็นอย่างมากดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาพละ หมู่ที่ ๓ จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 256๑เพื่อให้เกิดความตระหนักเพิ่มศักยภาพในการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้อง เหมาะสม ส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง สุขภาพจิตดี เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่จะเกิดขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวังประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป) จำนวน 480คน
  2. 2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
  3. 3เพื่อให้ผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อทุกราย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ต.นาพละ ปี 2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 480
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานร้อยละ๙๐ ๒.ภาคีเครือข่ายมีบทบาทในการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อรัง( NCDs) ๓.ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และให้การดูแลรักษาตั้งแต่ในระยะเริ่มแรกเพื่อลดความรุนแรงของโรคและสามารถหายเป็นปกติได้ง่าย ๔.ประชาชนมีสุขภาพดีไม่ป่วยและตายด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ต.นาพละ ปี 2561

วันที่ 1 มกราคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ 1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ 2.ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน 3.จัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินงานคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะอ้วนลงพุงประชากร 35 ปี ขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ 4.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการตรวจคัดกรองความเสี่ยงในชุมชน เช่น อบต.ผู้นำท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย 5.ประชาสัมพันธ์การคัดกรองความเสี่ยงเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเสียงตามสาย วิทยุชุมชน ฯลฯ 6.จัดเตรียมเอกสาร วัสดุ ครุภัณฑ์ ต่างๆในการเก็บข้อมูลการคัดกรองความเสี่ยงให้เพียงพอในการดำเนินงาน ขั้นที่ 2 ขั้นดำเนินการ 1.แต่งตั้งทีมสุขภาพออกให้บริการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโดยให้ อสม.มีส่วนร่วม 2.จัดประชุม อสม.ให้มีทักษะในการตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด การวัดส่วนสูงน้ำหนักและคำนวณดัชนีมวลกาย 3.ปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติงานฯ โดยให้ อสม.นัดประชากรกลุ่มเป้าหมายเพื่อการคัดกรองในระดับหมู่บ้าน/ชุมชน 4.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร่วมกับ อสม.ประเมินภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ แจ้งผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยง พร้อมแนะนำให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ แนะนำการตรวจคัดกรองซ้ำ และลงทะเบียน และกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง (NCDs) 5.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตรวจยืนยันต่อโรคเรื้อรัง (NCDs) โดยการตรวจหาความดันโลหิต หาระดับน้ำตาลในเลือดตรวจวัดรอบเอว 6.บันทึกข้อมูลผลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงลงในโปรแกรม ขั้นที่ 3 สรุปวิเคราะห์และประเมินผล 1.สรุปผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) แยกรายหมู่บ้าน และคืนข้อมูลการตรวจคัดกรองความเสี่ยงกลับไปยังหมู่บ้าน/ชุมชน อสม.อบต.ทราบภาระของโรค เพื่อให้ได้มีส่วนร่วมในการติดตาม แนะนำการดูแลตนเอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้อง 2.รายงานผลการดำเนินงานให้ผู้บังคับบัญชา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 480 คน ได้รับการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อภาระโรค Metabolic จำนวน 448 คน คิดเป็นร้อยละ 93.33 พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 23 คน กลุ่มเสี่ยงฌรคความดันโลหิตสูงจำนวน 288 คน ให้คำแนะนำเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และเฝ้าติดตาม ประเมินสุขภาพทุก 3 เดือน

 

480 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเฝ้าระวังประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป) จำนวน 480คน
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยง(อายุ35ปีขึ้นไป)จำนวน 480คนได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90

 

2 2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : สามารถตรวจคัดกรองพบผู้ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ90

 

3 3เพื่อให้ผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อทุกราย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่สงสัยเป็นโรคเบาหวานความดันได้รับการส่งต่อ รพ.ตรังร้อยละ100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 480
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 480
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป) จำนวน 480คน (2) 2.เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยงไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (3) 3เพื่อให้ผู้ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการส่งต่อทุกราย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ต.นาพละ ปี 2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หมู่ที่ 3 ตำบลนาพละ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61- L1496 - 02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอารีสีนาประธาน อสม. หมู่ที่ 3 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด