โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon )
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ( Stop Teen Mon ) |
รหัสโครงการ | 68-L1490-02-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง |
วันที่อนุมัติ | 25 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 เมษายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 พฤษภาคม 2568 |
งบประมาณ | 29,550.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางจิตประไพ ใจเเข็ง ผู้อำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง |
พี่เลี้ยงโครงการ | พ.จ.อ.ไชยา สุทธิโภชน์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.524,99.615place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นประเด็นที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบถึงสังคมในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจของแม่และเด็ก โดยพบว่าอัตราการตั้งครรภ์ของแม่ที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี ซึ่งสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งวิถีการดำเนินชีวิตและวิถีวัฒนธรรมขณะที่โครงสร้างของสังคมไทยยังไม่สามารถปรับตัวได้ทัน ส่งผลให้คนไทยซึมซับวัฒนธรรมตะวันตกโดยไม่เลือก จึงทำให้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สังคมไทยต้องเผชิญกับวิกฤตเรื่องค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรม มีการเลียนแบบวัฒนธรรมการบริโภคนิยม วัตถุนิยม และการให้ความสำคัญกับเงินตราเป็นตัวตั้ง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว มีจุดเริ่มต้นจากเมืองหลวงและกระจายตัวไปสู่เมืองใหญ่ และจากเมืองใหญ่ไปสู่ชนบท โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยและสื่อทุกแขนงเป็นตัวเชื่อมร้อยให้ทุกพื้นที่ของประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤติทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างทั่วถึง
ผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้ประเทศไทยประสบปัญหาทางสังคมมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่เกิดกับเด็กและเยาวชน ปัจจุบันพบว่า เด็กเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือ ประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและขาดความรับผิดชอบตัวเอง ดังนั้น จึงมีความเสี่ยงในด้านต่างๆ เช่น เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง และยังมีผลต่อการออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมทั้งมีความไม่พร้อมในการเลี้ยงดูลูก กระทำความรุนแรงในครอบครัว กลายเป็นแรงงานราคาถูก ครอบครัวแตกแยก และยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่นๆ ตามมาอีกมาก
ปัจจุบันปัญหาเด็กวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและนำไปสู่การตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมปรากฏอยู่ทุกภาคของประเทศไทย และมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ดังนั้นวิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคตรัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จึงจัดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น (Stop Teen Mom) ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 150 | 29,550.00 | 0 | 0.00 | 29,550.00 | |
3 ก.พ. 68 - 30 เม.ย. 68 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้แนวทางการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม | 150 | 29,550.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 150 | 29,550.00 | 0 | 0.00 | 29,550.00 |
1.นักเรียน นักศึกษามีทักษะ และภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 2.นักเรียน นักศึกษามีความภาคภูมิใจในตนเอง และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิ องค์กรมีเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นพร้อมช่วยเหลือและให้คำปรึกษากับเด็กและเยาวชนที่ประสบปัญหา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2568 14:24 น.