โครงการ STOPTEEN MOMตำบลตาแกะ
ชื่อโครงการ | โครงการ STOPTEEN MOMตำบลตาแกะ |
รหัสโครงการ | 61-L3042-01-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ผู้อำนวยการการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาแกะ |
วันที่อนุมัติ | 14 ธันวาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2561 |
งบประมาณ | 10,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางซำซียะห์ อุมาลี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.844,101.336place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ม.ค. 2561 | 30 ก.ย. 2561 | 10,700.00 | |||
รวมงบประมาณ | 10,700.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สภาพสังคมไทยปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยายกลายเป็นครอบครัวเดียวอีกทั้งสภาพทางเศรษฐกิจเปลี่ยนไปทำให้พ่อแม่ประกอบอาชีพนอกบ้าานส่งผลให้ครอบครัวขาดความอบอุ่นเยาวชนขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสมประกอบกับความเก้าหน้าทางเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์และวัฒนธรรมข้ามชาติทำให้เยาวชนถุกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าเช่นสื่อลามกในอินเตอร์เน็ตสิ่งเหล่านี้จึงให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเพศสัมพันธ์ |
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นและแม่วัยรุ่นได้มีความรู้ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่รับผิดชอบ
|
||
3 | เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซำ้ในวัยรุ่น(ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนอายุ 20 ปี)
|
||
4 | เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาอนามัยเจริญพันธ์ในกลุ่มเพื่อนวัยรุ่นในชุมชน
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ขั้นที่1การเตรียมการ 2.ขั้นที่2การดำเนินกิจกรรม 3.ขั้นที่3สรุปผล
1.วัยรุ่นและแม่วัยรุ่นมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงผลที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม 2.แม่วัยรุ่นมีความรู้เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์และเลือกที่จะตั้งครรภ์เมื่อพร้อม 3.หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่นท้องถิ่นชุมชนบ้านและกลุ่มเพือนวัยรุ่นมีความตื่นตัวต่อปัยหาและเป็นเครือข่าย 4.เฝ้าระวังพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเด้กวัยรุ่น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ม.ค. 2561 16:53 น.