กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5)
รหัสโครงการ 68-L8302-2-5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนประทีปวิทยา
วันที่อนุมัติ 16 มกราคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 18,639.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอัดนัง แวบือซา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM2.5
15.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   ด้วยปัจจุบันเกิดปัญหามีค่าฝุ่นละอองเกินมาตรฐานในระดับสูง ส่วนใหญ่เกิดจากการเผาไหม้ทั้ง จากเครื่องยนต์ของยานพาหะนะต่างๆ และการเผาวัสดุต่างๆ อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ จากปัจจัยที่กล่าวข้างต้นล้วนก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ ซึ่งฝุ่นขนาดเล็กเป็นทั้งสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคอันตรายต่อปอดและระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคหอบหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคมะเร็งปอด
ทางโรงเรียนประทีปวิทยาได้เล็งเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของนักเรียนจึงมีการจัดโครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) โดยมีการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อันตรายจากฝุ่นละอองขนาดเล็กและกิจกรรมจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์อินโฟกราฟิก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มประชาชนที่มีพฤติกรรมการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM2.5

ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมการป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจาก PM2.5

15.00 15.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,639.00 0 0.00 18,639.00
1 - 31 ก.ค. 68 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) 0 13,780.00 - -
1 - 31 ก.ค. 68 กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อันตรายจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) 0 4,590.00 - -
1 - 31 ก.ค. 68 กิจกรรมจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์อินโฟกราฟิก 0 269.00 - -
รวมทั้งสิ้น 0 18,639.00 0 0.00 18,639.00

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. จัดประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ 2. นำเสนอโครงการ 3. ชี้แจงให้ครูและนักเรียนทราบ เพื่อเข้าร่วมโครงการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) 4. ดำเนินงานตามโครงการ       - จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5)       - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อันตรายจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ที่ละกลุ่มตามหัวข้อต่อไปนี้         1. สาเหตุของการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็ก         2. อันตรายจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก         3. วิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก     - กิจกรรมจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์อินโฟกราฟิก 5. สรุปผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. บุคลากรและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เกี่ยวกับฝุ่นละอองขนาดเล็ก
  2. บุคลากรและนักเรียนสามารถป้องกันการเกิดโรคทางเดินหายใจจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ม.ค. 2568 10:42 น.