โครงการเฝ้าระวัง ควบคุมไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวัง ควบคุมไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 |
รหัสโครงการ | 68-50115-01-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส |
วันที่อนุมัติ | 21 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 28,400.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวเจ๊ะไซต๊ะ เจ๊ะนุ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 21 มี.ค. 2568 | 21 มี.ค. 2568 | 28,400.00 | |||
รวมงบประมาณ | 28,400.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ด้วยโรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุดได้แก่กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่5 -14 ปีแต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วยการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ ตำบลกาวะเป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยเกือบทุกปีเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกรวมทั้งเป็นการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายรวมถึงการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออกในครัวเรือน หมู่บ้าน โรงเรียน มัสยิด อย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะร่วมกับชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกาวะ จึงได้จัดทำโครงการโครงการเฝ้าระวัง ควบคุมไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ขึ้น โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์และพ่นหมอกควัน ตามหมู่บ้าน ชุมชน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ เพื่อทำลายยุงลาย กำจัดยุงตัวแก่ ซึ่งเป็นพาหะนำโรคในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ จำนวน 6 หมู่บ้าน เพื่อให้เด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชน ในตำบลกาวะมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก |
40.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 28,400.00 | 0 | 0.00 | 28,400.00 | |
1 มิ.ย. 68 - 31 ส.ค. 68 | อบรมให้ความรู้ป้องกันโรคไข้เลือดออก | 0 | 28,400.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 28,400.00 | 0 | 0.00 | 28,400.00 |
- สามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกในประชาชนตำบลกาวะ
- ประชาชนทุกกลุ่มวัยตระหนักเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- สามารถเสริมสร้างความร่วมมือบูรณาการระหว่าง อบต. องค์กร ผู้นำชุมชน อสม. และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 ม.ค. 2568 11:03 น.