ให้ความรู้พัฒนาศักยภาพการเฝ้าระวัง ป้องการก่อความรุนแรงในชุมชน
ชื่อโครงการ | ให้ความรู้พัฒนาศักยภาพการเฝ้าระวัง ป้องการก่อความรุนแรงในชุมชน |
รหัสโครงการ | 68-50117-01-010 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลนาโยง |
วันที่อนุมัติ | 15 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 2,250.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายชัยณรงค์ มากเพ็ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงพยาบาลนาโยง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.566,99.699place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มิ.ย. 2568 | 31 ส.ค. 2568 | 2,250.00 | |||
รวมงบประมาณ | 2,250.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบันที่มีสภาพสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัฒน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ ส่งผลกระทบทำให้แบบแผนการดำเนินชีวิตของครอบครัว เปลี่ยนแปลงไป การแพร่ระบาดของยาเสพติดที่สำคัญ พบว่ามาจากปัจจัยครอบครัว เช่น ครอบครัวแตกแยก หย่าร้าง การใช้ความรุนแรงในครอบครัว เด็กขาดความอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม บุคคลในครอบครัวติดการพนัน หรืออยู่ในครอบครัวที่มีบุคคลในครอบครัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เป็นต้น ซึ่งแทบจะทุกครอบครัวที่มี ผู้ติดยาเสพติด จะมีปัญหาต่าง ๆ ซึ่งเป็นปัญหาสังคมเกิดขึ้นตามมาเป็นลูกโซ่อีกมากมาย ดังนั้น การตระหนักและให้ความสำคัญว่าปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่ต้องให้ความสำคัญ การมีส่วนร่วมของครอบครัว ในการเฝ้าระวังการเสพยาเสพติดในชุมชน ตลอดจนเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้แก่สมาชิกในครอบครัวที่มีแนวโน้มต่อปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนที่เสี่ยงต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด จะช่วยให้การแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นไปอย่างยั่งยืน และสร้างให้ครอบครัวเป็นสุข ชุมชนเข้มแข็ง พิจารณาข้อมูลผู้เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดของคลินิกฟ้าใหม่โรงพยาบาลนาโยงในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๖๗ จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดรายใหม่พบจิตเวชก่อความรุนแรง (SMIV) จำนวน ๒๑,๑๔ และ ๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๓o.๘๘,๖.๘๙ และ ๒๕.๖๘ ตามลำดับ จะเห็นว่า แนวโน้มผู้ติดยาเสพติด ที่มีอาการทางจิตที่ก่อความรุนแรงมีแนวโน้มสูงขึ้น ดังนั้นการดำเนินการคัดกรองค้นหาเชิงรุกในชุมชนและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจิตและสัญญานเตือนเสี่ยงก่อความรุนแรง โดยการให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และป้องกันการขาดยา โรงพยาบาลนาโยงจึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้พัฒนาศักยภาพการเฝ้าระวัง ป้องการก่อความรุนแรงในชุมชน ในพื้นที่ให้เข้าถึงบริการและการรักษาต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
๑.อาสาสมัครสาธารสุขและผู้ดูแลสามารถประเมินพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงของผู้ป่วยในชุมชนได้ ๒.อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ดูแลสามารถติดตามดูแลผู้ป่วยจิตเวชตามแบบประเมิน การดูแลผู้ป่วย ๑o ด้านได้ ๓.อัตราการก่อความรุนแรง ของผู้ป่วยที่ใช้สารเสพติดและอาการทางจิตลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ม.ค. 2568 15:00 น.