ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม ”
ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์ มากเพ็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม
ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-50117-01-008 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม
บทคัดย่อ
โครงการ " ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-50117-01-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมสูงวัย คือ สังคมที่มีสัดส่วนของผู้สูงอายุหรือประชากรที่มีอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่สัดส่วนของอัตราการเกิดและจำนวนประชากรในวัยทำงานลดน้อยลง ปัญหาสุขภาพและโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วย อย่างไรก็ตาม การรับมือในการจัดการกับเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ต้องมีการดำเนินการและเตรียมการตั้งแต่ยังอยู่ในวัยทำงาน เพิ่มกิจกรรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการดูแลตนเอง เพื่อลดการพึ่งพาผู้สูงอายุไทยมีหลักประกันในการดำรงชีวิตทุกมิติ สามารถพึ่งพา ตนเองได้อย่างอิสระและยาวนาน แต่คนส่วนใหญ่มักมองข้ามปัญหานี้ไปเพราะให้น้ำหนักหรือเน้นกับปัจจุบันมากกว่าอนาคต การเตรียมวางแผนการใช้ชีวิตในบั้นปลาย โดยการร่วมมือกันในชุมชน การปรับตัวทางด้านสังคมและจิตใจของผู้สูงอายุ รวมทั้งการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองที่เหมาะสม สำหรับประเทศไทย ที่ผ่านมา คสช. ได้พิจารณาให้ หยิบยกประเด็น “สุขภาพผู้สูงอายุ” ขึ้นมาเป็น ๑ ใน ๔ เรื่องที่ควรให้ความสำคัญเป็นพิเศษ โดยผลักดันให้ มีการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเรื่องนี้ ด้วยเล็งเห็นว่า ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูง อายุแล้ว และจะมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กลายเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) จึงจำเป็น ต้องมีการเตรียมตัวและวางแผนรองรับให้ดี ปัจจุบันผู้สูงอายุในประเทศไทยประมาณ 11.8 ล้านคน หรือร้อยละ ๑๗.๙ ซึ่งถูกคาดการณ์ว่าจะเป็นประเทศกำลังพัฒนาประเทศแรกของโลกที่ก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุแบบสมบูรณ์ (Aged Society) หรือมีสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นแตะ ๑๔ % ของประชากรทั้งหมดในปี ๒๕๖๕ เป็นอย่างเร็ว ปัจจุบันจังหวัดตรัง มีประชากรผู้สูงอายุจำนวน ๙๓,๕๙๔ คน จากจำนวนประขากรทั้งหมด ๖๔๓,๐๗๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๕๕ จึงเข้าสู่สังคมสูงวัยที่มีประชากรอายุ ๖๐ ปีหรือมากกว่า ร้อยละ ๑๐ ประชากรผู้สูงอายุของตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จำนวน ๑,๙๔๖ คน กิจกรรมทางสังคมจะทำให้ผู้สูงอายุได้พบปะกับผู้อื่นในวัยใกล้เคียงกัน จึงไม่รู้สึกโดดเดี่ยว ปรับตัวและยอมรับตัวเองได้ง่ายขึ้น สนับสนุนให้พวกเขามีความนับถือในตัวเอง ป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้า แนวทางการจัดกิจกรรมสังคมควรจะมีความหลากหลายและสามารถแก้ปัญหาของผู้สูงอายุได้ เช่น ช่วยดูแลสุขภาพ ทำให้จิตใจสดชื่น มีความภูมิใจในตนเอง ผู้ดูแลตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองจึงมีความสนใจที่จะจัดกิจกรรมผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม ประกอบด้วย ๓ กิจกรรมหลัก ดังนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อเตรียมรองรับสังคมผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อเตรียมรอง รับสังคมผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อเตรียมรองรับสังคมผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสมเพิ่มขึ้น
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
300
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อเตรียมรองรับสังคมผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-50117-01-008
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชัยณรงค์ มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม ”
ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์ มากเพ็ง
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-50117-01-008 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม
บทคัดย่อ
โครงการ " ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-50117-01-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมสูงวัย คือ สังคมที่มีสัดส่วนของผู้สูงอายุหรือประชากรที่มีอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่สัดส่วนของอัตราการเกิดและจำนวนประชากรในวัยทำงานลดน้อยลง ปัญหาสุขภาพและโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วย อย่างไรก็ตาม การรับมือในการจัดการกับเรื่องสุขภาพของผู้สูงอายุเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ต้องมีการดำเนินการและเตรียมการตั้งแต่ยังอยู่ในวัยทำงาน เพิ่มกิจกรรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการดูแลตนเอง เพื่อลดการพึ่งพาผู้สูงอายุไทยมีหลักประกันในการดำรงชีวิตทุกมิติ สามารถพึ่งพา ตนเองได้อย่างอิสระและยาวนาน แต่คนส่วนใหญ่มักมองข้ามปัญหานี้ไปเพราะให้น้ำหนักหรือเน้นกับปัจจุบันมากกว่าอนาคต การเตรียมวางแผนการใช้ชีวิตในบั้นปลาย โดยการร่วมมือกันในชุมชน การปรับตัวทางด้านสังคมและจิตใจของผู้สูงอายุ รวมทั้งการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองที่เหมาะสม สำหรับประเทศไทย ที่ผ่านมา คสช. ได้พิจารณาให้ หยิบยกประเด็น “สุขภาพผู้สูงอายุ” ขึ้นมาเป็น ๑ ใน ๔ เรื่องที่ควรให้ความสำคัญเป็นพิเศษ โดยผลักดันให้ มีการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเรื่องนี้ ด้วยเล็งเห็นว่า ปัจจุบันประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูง อายุแล้ว และจะมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กลายเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) จึงจำเป็น ต้องมีการเตรียมตัวและวางแผนรองรับให้ดี ปัจจุบันผู้สูงอายุในประเทศไทยประมาณ 11.8 ล้านคน หรือร้อยละ ๑๗.๙ ซึ่งถูกคาดการณ์ว่าจะเป็นประเทศกำลังพัฒนาประเทศแรกของโลกที่ก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุแบบสมบูรณ์ (Aged Society) หรือมีสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นแตะ ๑๔ % ของประชากรทั้งหมดในปี ๒๕๖๕ เป็นอย่างเร็ว ปัจจุบันจังหวัดตรัง มีประชากรผู้สูงอายุจำนวน ๙๓,๕๙๔ คน จากจำนวนประขากรทั้งหมด ๖๔๓,๐๗๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๕๕ จึงเข้าสู่สังคมสูงวัยที่มีประชากรอายุ ๖๐ ปีหรือมากกว่า ร้อยละ ๑๐ ประชากรผู้สูงอายุของตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จำนวน ๑,๙๔๖ คน กิจกรรมทางสังคมจะทำให้ผู้สูงอายุได้พบปะกับผู้อื่นในวัยใกล้เคียงกัน จึงไม่รู้สึกโดดเดี่ยว ปรับตัวและยอมรับตัวเองได้ง่ายขึ้น สนับสนุนให้พวกเขามีความนับถือในตัวเอง ป้องกันการเกิดภาวะซึมเศร้า แนวทางการจัดกิจกรรมสังคมควรจะมีความหลากหลายและสามารถแก้ปัญหาของผู้สูงอายุได้ เช่น ช่วยดูแลสุขภาพ ทำให้จิตใจสดชื่น มีความภูมิใจในตนเอง ผู้ดูแลตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองจึงมีความสนใจที่จะจัดกิจกรรมผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม ประกอบด้วย ๓ กิจกรรมหลัก ดังนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อเตรียมรองรับสังคมผู้สูงอายุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 300 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อเตรียมรอง รับสังคมผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อเตรียมรองรับสังคมผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสมเพิ่มขึ้น |
60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและครอบครัวผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อเตรียมรองรับสังคมผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ผู้สูงอายุและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลตนเองที่เหมาะสม จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-50117-01-008
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชัยณรงค์ มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......