สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ”
ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์ มากเพ็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-50117-01-005 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-50117-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่คุกคามสุขภาพคนไทย มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจัยของการเกิดโรคประกอบไปด้วยหลายๆปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งการรับประทานอาหาร การไม่ได้ออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ความเครียด ทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ขาดความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ในการดูแลตนเอง ส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงมีโอกาส เกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ส่วนในกลุ่มที่ป่วยแล้ว ก็มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนได้ เช่นโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคไตเรื้อรัง หรืออัมพฤกษ์ อัมพาต รวมถึงการติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนได้โดยการสร้างความรอบรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ อบต.นาโยงเหนือ ปี ๒๕๖๗ มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน ๗๗๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๘๔ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๒๗๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๐๒ จากกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองทั้งหมด ๓,๕๘๗ คน ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน ๖๑๔ คน ควบคุมน้ำตาลได้ไม่ดี ร้อยละ ๕๗.๑๘ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน ๑,๔๓๕ คน ควบคุมความดันได้ไม่ดี ร้อยละ ๕๓.๐๙ ในแต่ละปีมีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย มีความความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) สามารถดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง รวมถึงป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย และให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทางโรงพยาบาลนาโยง ได้ตระหนักถึงการเปิดโอกาสในการสร้างสุขภาวะของประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมาย จึงได้จัดทำโครงการสร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อลดจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง มีความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพ (Health Literacy) นำความรู้ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
๒.กลุ่มเสี่ยงสามารถป้องกันตนเองจากการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันได้ ควบคุมน้ำตาล ควบคุมความดันโลหิตได้
๓.กลุ่มป่วยควบคุมน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดีขึ้น ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
17.78
15.00
2
เพื่อลดจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-50117-01-005
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายชัยณรงค์ มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ”
ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายชัยณรงค์ มากเพ็ง
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-50117-01-005 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-50117-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่คุกคามสุขภาพคนไทย มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจัยของการเกิดโรคประกอบไปด้วยหลายๆปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งการรับประทานอาหาร การไม่ได้ออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ความเครียด ทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ขาดความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ในการดูแลตนเอง ส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงมีโอกาส เกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ส่วนในกลุ่มที่ป่วยแล้ว ก็มีโอกาสเกิดโรคแทรกซ้อนได้ เช่นโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคไตเรื้อรัง หรืออัมพฤกษ์ อัมพาต รวมถึงการติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งสามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนได้โดยการสร้างความรอบรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ อบต.นาโยงเหนือ ปี ๒๕๖๗ มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน ๗๗๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๘๔ กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๒๗๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๐๒ จากกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองทั้งหมด ๓,๕๘๗ คน ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน ๖๑๔ คน ควบคุมน้ำตาลได้ไม่ดี ร้อยละ ๕๗.๑๘ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน ๑,๔๓๕ คน ควบคุมความดันได้ไม่ดี ร้อยละ ๕๓.๐๙ ในแต่ละปีมีกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย มีความความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) สามารถดูแลตนเอง เพื่อป้องกันการเกิดโรคในกลุ่มเสี่ยง รวมถึงป้องกันภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มป่วย และให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทางโรงพยาบาลนาโยง ได้ตระหนักถึงการเปิดโอกาสในการสร้างสุขภาวะของประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมาย จึงได้จัดทำโครงการสร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ ๒๕๖๘ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อลดจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยง มีความรอบรู้ในการดูแลสุขภาพ (Health Literacy) นำความรู้ไปใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๒.กลุ่มเสี่ยงสามารถป้องกันตนเองจากการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันได้ ควบคุมน้ำตาล ควบคุมความดันโลหิตได้ ๓.กลุ่มป่วยควบคุมน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดีขึ้น ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง |
17.78 | 15.00 |
|
|
2 | เพื่อลดจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง |
10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อลดจำนวนประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
สร้างความรอบรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-50117-01-005
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายชัยณรงค์ มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......