กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยห่างไกลโรค ”
โรงเรียนบ้านขนุน



หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัสมิ์สรา แสงจันทร์ศิริ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยห่างไกลโรค

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านขนุน จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L5270-2-13 เลขที่ข้อตกลง 17/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยห่างไกลโรค จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านขนุน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยห่างไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยห่างไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านขนุน รหัสโครงการ 68-L5270-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านขนุน ตั้งอยู่ที่หมู่ 6 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนครจังหวัดสงขลาสภาพบริบทโดยทั่วไปของโรงเรียนบ้านขนุนมีเนื้อที่ 21 ไร่ อยู่ห่างจากอำเภอสิงหนคร ประมาณ 10 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสงขลา ประมาณ 33 กิโลเมตร สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะหนาแน่น มีประชากรประมาณ 2,700 คน ปัจจุบันโรงเรียนบ้านขนุน ได้เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 1 จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3มีนักเรียนจำนวน 240 คน มีผู้อำนวยการ 1 คน ข้าราชการครู 14 คน พนักงานราชการ 1 คน ครูอัตราจ้าง 2 คน นักการภารโรง 1 คน รวมบุคลากรจำนวน 19 คน ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ประกอบอาชีพรับจ้าง ก่อสร้าง และทำงานโรงงานคิดเป็นร้อยละ 40.00 ทำสวนและประมงคิดเป็นร้อยละ 60.00 นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 30.00นับถือศาสนาอิสลาม คิดเป็นร้อยละ 70.00 ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้เฉลี่ย ต่อครอบครัว ต่อปี60,000 บาท จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว5 คนคนในชุมชนมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย นักเรียนมาจากสภาพพื้นฐานครอบครัวที่ค่อนข้างยากจน พ่อแม่หย่าร้างหรือต้องทำงานรับจ้างที่อื่นจึงต้องพักอาศัยอยู่กับปู่ย่าตายายที่มีอายุมาก การดูแลเอาใจใส่ด้านพฤติกรรมและการเรียนจึงไม่ดีเท่าที่ควรมีปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียน ได้แก่ นักเรียนมีน้ำหนัก ส่วนสูงที่ต่ำกว่าเกณฑ์ ขาดการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง สุขภาพของด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชนที่ค่อยข้างแออัด ส่งผลให้เจ็บป่วยง่ายทำให้ขาดเรียนบ่อย เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมาอีกมากมาย โรงเรียนได้ดำเนินการแก้ปัญหาด้านสุขภาพโดยการส่งเสริมการออกกำลังกาย ด้านภาวะทุพโภชนาการ การจัดอาหารที่มีคุณภาพ การออกกำลังกาย การเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถลดระดับปัญหาลงได้ระดับหนึ่ง แต่ปัญหาเร่งด่วนโดยเฉพาะด้านสุขอนามัย ในเรื่องโรคภัยไข้เจ็บ ร่างกายไม่แข็งแรงเนื่องจากขาดการออกกำลังกาย การส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ถูกวิธี ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เป็นปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต ร่างกายจะเจริญเติบโต มีสุขภาพที่สมบูรณ์ เมื่อได้รับการส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดี เพื่อสร้างความพร้อมในการเรียนรู้ให้กับเด็กในวัยเรียน สุขภาพที่ดีย่อมเป็นฐานรากที่สำคัญในการเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม จากผลการดำเนินงานของโรงเรียนบ้านขนุนเกี่ยวกับด้านสุขภาพนักเรียน พบว่า ขาดความตระหนักในการดูแลเอาใจใส่สุขภาพ ด้านการขาดการออกกำลังกายเนื่องจากใช้โทรศัพท์มือถือ ติดเกมออนไลน์ ส่งผลต่อการเรียน ดังนั้นโรงเรียนบ้านขนุน โดยคณะครู ผู้บริหารคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานผู้นำชุมชนเห็นความสำคัญในการใส่ใจดูแลสุขภาพของนักเรียน คนในครอบครัว และชุมชนจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัย ห่างไกลโรคขึ้นเพื่อให้ครูและบุคลากร ผู้ปกครองและนักเรียนเห็นถึงความสำคัญในการออกกำลังกาย ใส่ใจในเรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธีและเกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
  2. เพื่อให้นักเรียนใส่ใจการออกกำลังกายและรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมทางกายด้วยกีฬา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง

2.นักเรียนใส่ใจในการออกกำลังกายและรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

3.นักเรียนมีสุขภาพที่ดีตามหลักสุขอนามัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนใส่ใจการออกกำลังกายและรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่ใส่ใจการออกกำลังกายและรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 204
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง (2) เพื่อให้นักเรียนใส่ใจการออกกำลังกายและรู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมทางกายด้วยกีฬา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยห่างไกลโรค จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L5270-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรัสมิ์สรา แสงจันทร์ศิริ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด