โครงการชุมชนร่วมใจ ร้านชำปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค
ชื่อโครงการ | โครงการชุมชนร่วมใจ ร้านชำปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค |
รหัสโครงการ | 68-l3327-02-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านหนองเลน ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง |
วันที่อนุมัติ | 19 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 9,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสมพล ด้วนแดง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ผู้บริโภคและผู้ประกอบการในพื้นมีความรู้และทักษะในการเลือกซื้อสินค้ายังไม่ได้คุณภาพ | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆให้แก่ผู้บริโภคในการจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียรอยด์ เครื่องสำอางมีสารอันตรายปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพที่มีความปลอดภัยสูง โดยปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรุนายขาว มีร้านขายของชำในหมู่บ้านอยู่จำนวน 11 ร้าน จึงได้เล็งเห็นว่าการพัฒนายกระดับร้านขายของชำในหมู่บ้านจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยลดน้อยลงไปได้ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจ ร้านชำปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่มีความรู้ในการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีสารเคมีอันตรายเจือปนอยู่ มีการสำรวจเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภค ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้านขายของชำได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ ส่งผลให้ผู้บริโภคมีความปลอดภัย จากการอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและปลอดภัย ไม่ก่อให้เกิดโรค และการแพ้และอันตรายต่อสุขภาพของคนในพื้นที่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้บริโภคและผู้ประกอบการในพื้นมีความรู้และทักษะในการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพมากขึ้น ผู้บริโภคและผู้ประกอบการในพื้นมีความรู้และทักษะในการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพร้อยละ 100 |
2.00 | 1.00 |
2 | เพื่อให้ผู้บริโภคในพื้นที่ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและใช้สินค้าที่มีความปลอดภัย ไม่มีสารอันตราย ใช้สินค้าที่มีความปลอดภัย ไม่มีสารอันตรายร้อยละ 70 |
2.00 | 1.00 |
3 | เพื่อยกระดับร้านขายของชำในหมู่บ้านให้มีการจำหน่ายสินค้าที่มีความปลอดภัยและมีคุณภาพ ร้านขายของชำในหมู่บ้านให้มีการจำหน่ายสินค้าที่ถูกต้องและมีคุณภาพ |
2.00 | 1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 9,500.00 | 0 | 0.00 | 9,500.00 | |
1 เม.ย. 68 - 31 ส.ค. 68 | ประชุมชี้แจงคณะทำงาน | 0 | 0.00 | - | - | ||
1 พ.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย | 0 | 9,500.00 | - | - | ||
1 พ.ค. 68 - 31 ส.ค. 68 | สรุปโครงการ | 0 | 0.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 9,500.00 | 0 | 0.00 | 9,500.00 |
1.ผู้บริโภคในพื้นที่มีความรู้และทักษะ ในการเลือกสินค้าที่มีคุณภาพมาตรฐาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ภูกต้องและใช่สินค้าที่มีความปลอดภัย ไม่มีสารอันตราย (ร้อยละ 100) 2.ร้านขายของชำในหมู่บ้าน ผ่านมาตรฐาน ร้านชำปลอดภัยและมีคุณภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ม.ค. 2568 00:00 น.