โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs) ”
โรงเรียนวัดขนุน ม.1 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวภิรมร์ อินธนู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs)
ที่อยู่ โรงเรียนวัดขนุน ม.1 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5270-2-11 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนวัดขนุน ม.1 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs) " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนวัดขนุน ม.1 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5270-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีกระแสพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2545 ณ ศาลาดุสิตาลัย ความว่า ''ยาเสพติดนี่มันก็ให้เกิดความเดือดร้อนหลายอย่าง โดยที่
ไม่ได้ตั้งใจ ทั้งราชการ ตำรวจ โดยโรงพยาบาล โดยคน เอกชนต่างๆ เดือดร้อนหมด และสิ้นเปลือง คนทั่วประเทศ ก็สิ้นเปลือง แทนที่จะมีเงินทอง มีทุนมาสร้างบ้านเมืองให้สบาย ให้
เจริญ มัวแต่ต้องมาปราบปรามยาเสพติด มัวแต่ต้องเสียเงิน ค่าดูแลรักษาทั้งผู้เสพยา ผู้เป็นคนเดือดร้อนอย่างนี้ก็เสียทั้งเงิน และเสียทั้งชื่อเสียง''
จากกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงให้เห็นว่าปัญหายาเสพติดในประเทศไทยมีมานานแล้ว ดูเหมือนว่าจะไม่มีทางแก้ไขได้สำเร็จ ไม่มีทีท่าว่าจะหยุดยั้งการ
แพร่กระจายของยาเสพติดที่แทรกแซงเข้าไปยังประชากรทุกหมู่เหล่า ทุกเพศทุกวัยได้เลย
ยาเสพติดเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความมั่งคงและความปลอดภัยของประชาชนในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายวัยเสี่ยงสูงและเป็น
กำลังสำคัญของประเทศ มาตรการป้องกันจึงมุ่งเน้นให้ความสำคัญในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง โดยดำเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดที่ถูกต้อง ควบคู่กับการพัฒนา
ทักษะชีวิตที่สอดคล้องเหมาะสมกับช่วงวัย เช่น การคิดวิเคราะห์ ยับยั้งชั่งใจ รู้จักปฏิเสธ แก้ไขปัญหาเป็น รู้ทันข้อมูลข่าวสาร ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อลดโอกาสการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดใน
อนาคต ผ่านกระบวนการนำความรู้ยาเสพติดเข้าสู่การเรียนการสอน ในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และยั่งยืน เปรียบดังการให้วัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตให้เข้มแข็ง
ปัจจุบันพบว่าเยาวชนไทยเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสภาวะสังคมไทย มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งเยาวชนอยู่ในวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น อยากลอง
ทำให้สามารถเข้าถึงยาเสพติดได้ง่ายขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่จะทำให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติดได้ คือ การปลูกฝังเรื่องยาเสพติดให้กับเยาวชนตั้งแต่วัยเด็ก เพื่อเป็นการฝังลึกลงในความ
คิดว่ายาเสพติดเป็นสิ่งอันตรายทำลายชีวิตพร้อมกับการสร้างความรู้ความเข้าใจว่า สิ่งใดเป็นยาเสพติด ซึ่งไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพและร่างกาย แล้วยังจะก่อให้เกิดปัญหาภายใน
ครอบครัว สังคม และประเทศชาติอีกด้วย
ยาเสพติดกำลังแพร่ระบาดและขยายไปทั่วประเทศมากขึ้น และก่อให้เกิดปัญหาสังคมขึ้นมามากมาย เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ
บั่นทอนความเจริญของประเทศชาติ การที่เราให้ความสนใจในเรื่องความเป็นมาของยาเสพติดนั้นเป็นสิ่งที่ดี เพราะถ้าเรามีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้มากเราก็สามารถเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยแก้
ปัญหาได้ แม้จะช่วยไม่ได้มากก็ตาม โดยส่วนมากผู้ติดยามักเริ่มจากด้วยความอยากรู้ความอยากลอง และความคึกคะนองเป็นส่วนใหญ่อีกทั้งสภาพแวดล้อม สังคม และค่านิยมในกลุ่ม
เป็นแรงผลักดันอีกชั้นหนึ่งประกอบกับหาซื้อได้ง่าย ทำให้จำนวนผู้ติดยาเพิ่มมากขึ้น ถึงแม้จะถูกบรรจุลงในวาระแห่งชาติก็ตาม แต่ก็ยังมีข่าวออกมาให้เห็นกันอยู่ตามหน้าหนังสือตลอด
ซึ่งล้วนก่อความเสียหายให้กับประเทศชาติทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการปล้นชิง หรืออาชญากรรม ล้วนนำมาซึ่งความสูญเสีย กลุ่มเยาวชนจะติดยาเสพติดมากกว่ากลุ่มคนกลุ่มอื่น และที่เป็น
ห่วงมากก็คือมันกำลังแพร่ระบาดสู่เล็กนักเรียนช่วงวัย 9 ขวบ และ 10 ขวบ สาเหตุอาจเป็นเพราะเกิดจากถูกเพื่อนชักจูงให้ลองเสพ อยากรู้ อยากลอง ถูกล่อลวง และสาเหตุสำคัญอีก
ประการหนึ่งคือการขาดความอบอุ่นในครอบครัว พ่อแม่ไม่มีเวลาให้ ปัญหาพ่อแม่หย่าร้างกัน ผู้ใหญ่ไม่ได้สนใจดูแลหรือเป็นที่พึ่งของเด็กได้ เด็กเกิดความว้าเหว่ไม่รู้จะปรึกษาใคร เลย
หันไปหายาเสพติด หรือเป็นเป้าล่อให้กับผู้ไม่ปรารถนาดี ปัจจุบันยาเสพติดได้มีการเปลี่ยนรูปแบบในการแพร่ขยายไปมากจากเดิม เคยพบเป็นเฮโรอีนซึ่งเราก็ได้ยินกันบ่อยๆ ก็กลายเป็น
ยาบ้า ยาไอซ์ ยาอี ที่เราได้ยินข่าวแทบจะทุกวัน ตัวยาพวกนี้ออกกฤทธิ์ต่อสมองโดยเข้าไปปรับหรือเปลี่ยนแปลงสารเคมีบางตัว ทำให้มีฤทธิ์ที่ทำให้ผู้เสพรู้สึกคึกคัก หรือรู้สึกเพลิดเพลิน
ค่อนข้างมาก หลายคนชอบใจติดใจในความสนุกสนานที่ได้รับจากฤทธิ์ของยา กว่าจะรู้ตัวอีกทีก็สายเสียแล้วปัญหายาเสพติดเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาสังคม ดำรงอยู่ควบคู่ไปกับการ
พัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญ เป็นวัยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการใช้ยาเสพติด ก้าวเข้าสู่วัยรุ่น เป็นช่วงการปรับตัว มีการ
เปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนทำให้มีความอยากรู้อยากลอง เมื่อเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด สมองจะถูกทำลาย ส่งผลถึงการเรียน และอาจชักชวนเพื่อนให้มายุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ส่ง
ผลให้ปัญหายาเสพติดทวีความรุนแรงมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีปัญหาการสูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปัญหาการหนีเรียน การทะเลาะวิวาท ปัญหาติดเกม ปัญหาสื่อโซ
เชียลลามกอนาจาร ปัญหาการพนันและปัญหาการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ซึ่งทุกปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นในสังคมไทยนี้ล้วนเป็นพฤติกรรมเสี่ยงที่จะนำไปสู่ปัญหายาเสพติดต่อไป
โรงเรียนวัดขนุน ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 จัดการศึกษาระดับปฐมวัยและประถมศึกษา
อนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2567 มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 97 คน มีข้าราชการครูจำนวน 6 คน บุคลากรจำนวน 5 คน ผู้บริหาร 1 คน
สภาพบริบทโดยทั่วไปของโรงเรียนวัดขนุน มีโรงงานอุตสาหกรรมจำนวน 6 แห่ง ในตำบลวัดขนุน คนในชุมชนมีการเคลื่อนย้ายเข้า - ออก ในชุมชนเนื่องจากมารับจ้างในโรงงาน นักเรียน
มากจากสภาพพื้นฐานครอบครัวที่ค่อนข้างยากจน พ่อแม่หย่าร้างหรือต้องทำงานรับจ้างที่อื่น จึงต้องพักอาศัยอยู่กับปู่ย่าตายายที่มีอายุมาก การดูแลเอาใจใส่ด้านพฤติกรรมและการเรียน
จึงไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้เกิดปัญหาด้านพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การมาสาย ขาดเรียน ปัญหาด้านการใส่ใจการเรียน ขาดความรับผิดชอบผลการเรียนค่อนข้างต่ำ ปัญหาความเสี่ยง
ในการมั่วสุมข้องเกี่ยวกับยาเสพติด เป็นต้น
จากการสำรวจสภาพชุมชน บริบท เกี่ยวกับปัญหาด้านยาเสพติดและอบายมุข โดยการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านนักเรียน การใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ พบปัญหาต่างๆได้แก่ พื้นที่รอบ
สถานศึกษา ภายในชุมชนยังมีร้านค้าที่จำหน่ายบุหรี่ เหล้า น้ำกระท่อม ประชากรในเขตพื้นที่ส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับการศึกษาภาคบังคับ บางส่วนไม่จบการศึกษา มีบุตรตั้งแต่อายุ
ยังน้อยและแยกทางกัน สุดท้ายเด็กต้องอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ทำให้ขาดความรัก ความอบอุ่น บางคนจึงมีพฤติกรรมก้าวร้าว สภาพครอบครัวของนักเรียนส่วนใหญ่ มีฐานะยากจนประกอบ
อาชีพรับจ้างและมีผู้ปกครองจำนวนมากที่ว่างงาน นักเรียนอาศัยอยู่กับพ่อแม่ ร้อยละ 10 และอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ร้อยละ 90 ชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีการมั่วสุม เสพและ
จำหน่ายยาเสพติด เช่น น้ำกระท่อม ยาบ้า อยู่จำนวนมาก นักเรียนอาจเกิดพฤติกรรมเลียนแบบได้ มาตรการตรวจจับตำรวจยังไม่ได้ดำเนินการและลงมืออย่างเด็ดขาดและคลอบคลุมใน
พื้นที่มั่วสุม ผู้ปกครอง/ญาติของนักเรียนบางคน เป็นผู้จำหน่ายและเสพยาเสพติดบางประเภท เยาวชนขาดแบบอย่างที่ดี สถานบันครอบครัวอ่อนแอ ส่งผลให้นักเรียนบางส่วนเกิดปัญหา
ด้านพฤติกรรม ชุมชนยังขาดความเข้าใจในปัญหายาเสพติดในด้านการส่งผลเสียต่อส่วนร่วม บางส่วนยังขาดความตระหนัก มองว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับตนเอง ผู้ปกครองไม่มีเวลาอบรม
สั่งสอนบุตรหลาน เนื่องจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ปากท้องของครอบครัว บางส่วนทำงานกลางคืนหรือทำงานต่างจังหวัด ทำให้ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมบุตรหลานหรือดูแล
เอาใจใส่ได้อย่างทั่วถึง ที่ตั้งของโรงเรียนตั้งอยู่ติดถนนใหญ่ การคมนาคมสะดวก จึงมีผู้คนสัญจรเป็นจำนวนมาก ในตำบลวัดขนุน มีจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 6 แห่ง ทำให้มีผู้
มารับจ้างทำงานทั้งต่างด้าว คนต่างถิ่น และในถิ่น มาเช่าบ้าน เกิดแหล่งมั่วสุม มีการย้ายถิ่นฐานบ่อยครั้ง จึงเสี่ยงต่อปัญหาด้านยาเสพติด นักเรียนใช้โทรศัพท์ไปในทางที่ไม่เป็น
ประโยชน์ เล่นเกม ใช้สื่อโซเชียล Line Facebook tiktok มีการชักชวนทำกิจกรรมที่ไม่เหมาะสมกับสื่อออนไลน์ และที่สำคัญพบว่า พ่อ แม่ นักเรียนติดสารเสพติด และทำร้ายร่างกาย
กันโดยนักเรียนต้องอยู่ในความดูแลของพ่อแม่ที่มีปัญหาด้านยาเสพติด นักเรียนหลายคนพ่อ แม่ติดคุกเนื่องจากไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด นักเรียนบางคนต้องอยู่ด้วยความลำบาก ขาดผู้
ปกครองดูแลส่งผลต่อสุขภาพจิตและการดำรงชีวิตประจำวัน
โรงเรียนวัดขนุน เห็นความสำคัญของการป้องกันยาเสพติดและอบายมุข จึงได้ดำเนินโครงการ รู้คิด รู้ทัน ป้องกันยาเสพติด (BeSmart NoTo Drugs) เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีทักษะชีวิต
ในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากสารเสพติดและดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดขนุนมีความรู้ ความเข้าใจในภัยของยาเสพติดและอบายมุข
- เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด บุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สื่อลามก และการพนันให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดขนุน
- เพื่อสร้างเครือข่ายและกลไกการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในโรงเรียนวัดขนุน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ศูนย์การเรียนรู้ป้องกันยาเสพติดและอบายมุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนทุกคนปลอดสารเสพติดและอบายมุข มีสุขภาพกายแข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี
โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ป้องกันยาเสพติดและอบายมุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดขนุนมีความรู้ ความเข้าใจในภัยของยาเสพติดและอบายมุข
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยของยาเสพติดและอบายมุข
1.00
80.00
2
เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด บุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สื่อลามก และการพนันให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดขนุน
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 100 ปลอดยาเสพติดและอบายมุข บุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สื่อลามกและการพนัน
1.00
100.00
3
เพื่อสร้างเครือข่ายและกลไกการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในโรงเรียนวัดขนุน
ตัวชี้วัด : ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันสารเสพติด
1.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดขนุนมีความรู้ ความเข้าใจในภัยของยาเสพติดและอบายมุข (2) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด บุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สื่อลามก และการพนันให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดขนุน (3) เพื่อสร้างเครือข่ายและกลไกการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในโรงเรียนวัดขนุน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ศูนย์การเรียนรู้ป้องกันยาเสพติดและอบายมุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5270-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวภิรมร์ อินธนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs) ”
โรงเรียนวัดขนุน ม.1 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวภิรมร์ อินธนู
กันยายน 2568
ที่อยู่ โรงเรียนวัดขนุน ม.1 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5270-2-11 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนวัดขนุน ม.1 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs) " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนวัดขนุน ม.1 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5270-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีกระแสพระราชดำรัสเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2545 ณ ศาลาดุสิตาลัย ความว่า ''ยาเสพติดนี่มันก็ให้เกิดความเดือดร้อนหลายอย่าง โดยที่
ไม่ได้ตั้งใจ ทั้งราชการ ตำรวจ โดยโรงพยาบาล โดยคน เอกชนต่างๆ เดือดร้อนหมด และสิ้นเปลือง คนทั่วประเทศ ก็สิ้นเปลือง แทนที่จะมีเงินทอง มีทุนมาสร้างบ้านเมืองให้สบาย ให้
เจริญ มัวแต่ต้องมาปราบปรามยาเสพติด มัวแต่ต้องเสียเงิน ค่าดูแลรักษาทั้งผู้เสพยา ผู้เป็นคนเดือดร้อนอย่างนี้ก็เสียทั้งเงิน และเสียทั้งชื่อเสียง''
จากกระแสพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงให้เห็นว่าปัญหายาเสพติดในประเทศไทยมีมานานแล้ว ดูเหมือนว่าจะไม่มีทางแก้ไขได้สำเร็จ ไม่มีทีท่าว่าจะหยุดยั้งการ
แพร่กระจายของยาเสพติดที่แทรกแซงเข้าไปยังประชากรทุกหมู่เหล่า ทุกเพศทุกวัยได้เลย
ยาเสพติดเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อความมั่งคงและความปลอดภัยของประชาชนในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายวัยเสี่ยงสูงและเป็น
กำลังสำคัญของประเทศ มาตรการป้องกันจึงมุ่งเน้นให้ความสำคัญในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง โดยดำเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดที่ถูกต้อง ควบคู่กับการพัฒนา
ทักษะชีวิตที่สอดคล้องเหมาะสมกับช่วงวัย เช่น การคิดวิเคราะห์ ยับยั้งชั่งใจ รู้จักปฏิเสธ แก้ไขปัญหาเป็น รู้ทันข้อมูลข่าวสาร ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อลดโอกาสการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดใน
อนาคต ผ่านกระบวนการนำความรู้ยาเสพติดเข้าสู่การเรียนการสอน ในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง และยั่งยืน เปรียบดังการให้วัคซีนสร้างภูมิคุ้มกันชีวิตให้เข้มแข็ง
ปัจจุบันพบว่าเยาวชนไทยเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสภาวะสังคมไทย มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว อีกทั้งเยาวชนอยู่ในวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น อยากลอง
ทำให้สามารถเข้าถึงยาเสพติดได้ง่ายขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่จะทำให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติดได้ คือ การปลูกฝังเรื่องยาเสพติดให้กับเยาวชนตั้งแต่วัยเด็ก เพื่อเป็นการฝังลึกลงในความ
คิดว่ายาเสพติดเป็นสิ่งอันตรายทำลายชีวิตพร้อมกับการสร้างความรู้ความเข้าใจว่า สิ่งใดเป็นยาเสพติด ซึ่งไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพและร่างกาย แล้วยังจะก่อให้เกิดปัญหาภายใน
ครอบครัว สังคม และประเทศชาติอีกด้วย
ยาเสพติดกำลังแพร่ระบาดและขยายไปทั่วประเทศมากขึ้น และก่อให้เกิดปัญหาสังคมขึ้นมามากมาย เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจ
บั่นทอนความเจริญของประเทศชาติ การที่เราให้ความสนใจในเรื่องความเป็นมาของยาเสพติดนั้นเป็นสิ่งที่ดี เพราะถ้าเรามีความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้มากเราก็สามารถเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยแก้
ปัญหาได้ แม้จะช่วยไม่ได้มากก็ตาม โดยส่วนมากผู้ติดยามักเริ่มจากด้วยความอยากรู้ความอยากลอง และความคึกคะนองเป็นส่วนใหญ่อีกทั้งสภาพแวดล้อม สังคม และค่านิยมในกลุ่ม
เป็นแรงผลักดันอีกชั้นหนึ่งประกอบกับหาซื้อได้ง่าย ทำให้จำนวนผู้ติดยาเพิ่มมากขึ้น ถึงแม้จะถูกบรรจุลงในวาระแห่งชาติก็ตาม แต่ก็ยังมีข่าวออกมาให้เห็นกันอยู่ตามหน้าหนังสือตลอด
ซึ่งล้วนก่อความเสียหายให้กับประเทศชาติทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นการปล้นชิง หรืออาชญากรรม ล้วนนำมาซึ่งความสูญเสีย กลุ่มเยาวชนจะติดยาเสพติดมากกว่ากลุ่มคนกลุ่มอื่น และที่เป็น
ห่วงมากก็คือมันกำลังแพร่ระบาดสู่เล็กนักเรียนช่วงวัย 9 ขวบ และ 10 ขวบ สาเหตุอาจเป็นเพราะเกิดจากถูกเพื่อนชักจูงให้ลองเสพ อยากรู้ อยากลอง ถูกล่อลวง และสาเหตุสำคัญอีก
ประการหนึ่งคือการขาดความอบอุ่นในครอบครัว พ่อแม่ไม่มีเวลาให้ ปัญหาพ่อแม่หย่าร้างกัน ผู้ใหญ่ไม่ได้สนใจดูแลหรือเป็นที่พึ่งของเด็กได้ เด็กเกิดความว้าเหว่ไม่รู้จะปรึกษาใคร เลย
หันไปหายาเสพติด หรือเป็นเป้าล่อให้กับผู้ไม่ปรารถนาดี ปัจจุบันยาเสพติดได้มีการเปลี่ยนรูปแบบในการแพร่ขยายไปมากจากเดิม เคยพบเป็นเฮโรอีนซึ่งเราก็ได้ยินกันบ่อยๆ ก็กลายเป็น
ยาบ้า ยาไอซ์ ยาอี ที่เราได้ยินข่าวแทบจะทุกวัน ตัวยาพวกนี้ออกกฤทธิ์ต่อสมองโดยเข้าไปปรับหรือเปลี่ยนแปลงสารเคมีบางตัว ทำให้มีฤทธิ์ที่ทำให้ผู้เสพรู้สึกคึกคัก หรือรู้สึกเพลิดเพลิน
ค่อนข้างมาก หลายคนชอบใจติดใจในความสนุกสนานที่ได้รับจากฤทธิ์ของยา กว่าจะรู้ตัวอีกทีก็สายเสียแล้วปัญหายาเสพติดเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาสังคม ดำรงอยู่ควบคู่ไปกับการ
พัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มเยาวชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญ เป็นวัยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการใช้ยาเสพติด ก้าวเข้าสู่วัยรุ่น เป็นช่วงการปรับตัว มีการ
เปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนทำให้มีความอยากรู้อยากลอง เมื่อเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด สมองจะถูกทำลาย ส่งผลถึงการเรียน และอาจชักชวนเพื่อนให้มายุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ส่ง
ผลให้ปัญหายาเสพติดทวีความรุนแรงมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีปัญหาการสูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปัญหาการหนีเรียน การทะเลาะวิวาท ปัญหาติดเกม ปัญหาสื่อโซ
เชียลลามกอนาจาร ปัญหาการพนันและปัญหาการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ซึ่งทุกปัญหาที่กำลังเกิดขึ้นในสังคมไทยนี้ล้วนเป็นพฤติกรรมเสี่ยงที่จะนำไปสู่ปัญหายาเสพติดต่อไป
โรงเรียนวัดขนุน ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 จัดการศึกษาระดับปฐมวัยและประถมศึกษา
อนุบาล 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2567 มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 97 คน มีข้าราชการครูจำนวน 6 คน บุคลากรจำนวน 5 คน ผู้บริหาร 1 คน
สภาพบริบทโดยทั่วไปของโรงเรียนวัดขนุน มีโรงงานอุตสาหกรรมจำนวน 6 แห่ง ในตำบลวัดขนุน คนในชุมชนมีการเคลื่อนย้ายเข้า - ออก ในชุมชนเนื่องจากมารับจ้างในโรงงาน นักเรียน
มากจากสภาพพื้นฐานครอบครัวที่ค่อนข้างยากจน พ่อแม่หย่าร้างหรือต้องทำงานรับจ้างที่อื่น จึงต้องพักอาศัยอยู่กับปู่ย่าตายายที่มีอายุมาก การดูแลเอาใจใส่ด้านพฤติกรรมและการเรียน
จึงไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้เกิดปัญหาด้านพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น การมาสาย ขาดเรียน ปัญหาด้านการใส่ใจการเรียน ขาดความรับผิดชอบผลการเรียนค่อนข้างต่ำ ปัญหาความเสี่ยง
ในการมั่วสุมข้องเกี่ยวกับยาเสพติด เป็นต้น
จากการสำรวจสภาพชุมชน บริบท เกี่ยวกับปัญหาด้านยาเสพติดและอบายมุข โดยการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านนักเรียน การใช้แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ พบปัญหาต่างๆได้แก่ พื้นที่รอบ
สถานศึกษา ภายในชุมชนยังมีร้านค้าที่จำหน่ายบุหรี่ เหล้า น้ำกระท่อม ประชากรในเขตพื้นที่ส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับการศึกษาภาคบังคับ บางส่วนไม่จบการศึกษา มีบุตรตั้งแต่อายุ
ยังน้อยและแยกทางกัน สุดท้ายเด็กต้องอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ทำให้ขาดความรัก ความอบอุ่น บางคนจึงมีพฤติกรรมก้าวร้าว สภาพครอบครัวของนักเรียนส่วนใหญ่ มีฐานะยากจนประกอบ
อาชีพรับจ้างและมีผู้ปกครองจำนวนมากที่ว่างงาน นักเรียนอาศัยอยู่กับพ่อแม่ ร้อยละ 10 และอาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ร้อยละ 90 ชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีการมั่วสุม เสพและ
จำหน่ายยาเสพติด เช่น น้ำกระท่อม ยาบ้า อยู่จำนวนมาก นักเรียนอาจเกิดพฤติกรรมเลียนแบบได้ มาตรการตรวจจับตำรวจยังไม่ได้ดำเนินการและลงมืออย่างเด็ดขาดและคลอบคลุมใน
พื้นที่มั่วสุม ผู้ปกครอง/ญาติของนักเรียนบางคน เป็นผู้จำหน่ายและเสพยาเสพติดบางประเภท เยาวชนขาดแบบอย่างที่ดี สถานบันครอบครัวอ่อนแอ ส่งผลให้นักเรียนบางส่วนเกิดปัญหา
ด้านพฤติกรรม ชุมชนยังขาดความเข้าใจในปัญหายาเสพติดในด้านการส่งผลเสียต่อส่วนร่วม บางส่วนยังขาดความตระหนัก มองว่าไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับตนเอง ผู้ปกครองไม่มีเวลาอบรม
สั่งสอนบุตรหลาน เนื่องจากปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ปากท้องของครอบครัว บางส่วนทำงานกลางคืนหรือทำงานต่างจังหวัด ทำให้ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมบุตรหลานหรือดูแล
เอาใจใส่ได้อย่างทั่วถึง ที่ตั้งของโรงเรียนตั้งอยู่ติดถนนใหญ่ การคมนาคมสะดวก จึงมีผู้คนสัญจรเป็นจำนวนมาก ในตำบลวัดขนุน มีจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 6 แห่ง ทำให้มีผู้
มารับจ้างทำงานทั้งต่างด้าว คนต่างถิ่น และในถิ่น มาเช่าบ้าน เกิดแหล่งมั่วสุม มีการย้ายถิ่นฐานบ่อยครั้ง จึงเสี่ยงต่อปัญหาด้านยาเสพติด นักเรียนใช้โทรศัพท์ไปในทางที่ไม่เป็น
ประโยชน์ เล่นเกม ใช้สื่อโซเชียล Line Facebook tiktok มีการชักชวนทำกิจกรรมที่ไม่เหมาะสมกับสื่อออนไลน์ และที่สำคัญพบว่า พ่อ แม่ นักเรียนติดสารเสพติด และทำร้ายร่างกาย
กันโดยนักเรียนต้องอยู่ในความดูแลของพ่อแม่ที่มีปัญหาด้านยาเสพติด นักเรียนหลายคนพ่อ แม่ติดคุกเนื่องจากไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด นักเรียนบางคนต้องอยู่ด้วยความลำบาก ขาดผู้
ปกครองดูแลส่งผลต่อสุขภาพจิตและการดำรงชีวิตประจำวัน
โรงเรียนวัดขนุน เห็นความสำคัญของการป้องกันยาเสพติดและอบายมุข จึงได้ดำเนินโครงการ รู้คิด รู้ทัน ป้องกันยาเสพติด (BeSmart NoTo Drugs) เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีทักษะชีวิต
ในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากสารเสพติดและดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดขนุนมีความรู้ ความเข้าใจในภัยของยาเสพติดและอบายมุข
- เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด บุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สื่อลามก และการพนันให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดขนุน
- เพื่อสร้างเครือข่ายและกลไกการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในโรงเรียนวัดขนุน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ศูนย์การเรียนรู้ป้องกันยาเสพติดและอบายมุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนทุกคนปลอดสารเสพติดและอบายมุข มีสุขภาพกายแข็งแรง สุขภาพจิตที่ดี
โรงเรียนเป็นศูนย์การเรียนรู้ป้องกันยาเสพติดและอบายมุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดขนุนมีความรู้ ความเข้าใจในภัยของยาเสพติดและอบายมุข ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภัยของยาเสพติดและอบายมุข |
1.00 | 80.00 |
|
|
2 | เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด บุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สื่อลามก และการพนันให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดขนุน ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 100 ปลอดยาเสพติดและอบายมุข บุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สื่อลามกและการพนัน |
1.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อสร้างเครือข่ายและกลไกการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในโรงเรียนวัดขนุน ตัวชี้วัด : ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมป้องกันสารเสพติด |
1.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนวัดขนุนมีความรู้ ความเข้าใจในภัยของยาเสพติดและอบายมุข (2) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด บุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สื่อลามก และการพนันให้กับนักเรียนโรงเรียนวัดขนุน (3) เพื่อสร้างเครือข่ายและกลไกการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในโรงเรียนวัดขนุน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ศูนย์การเรียนรู้ป้องกันยาเสพติดและอบายมุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรู้คิด รู้ทันป้องกันยาเสพติด (BeSmartSay NoTo Drugs) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5270-2-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวภิรมร์ อินธนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......