กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี ”
ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางกำไล สุดใหม่




ชื่อโครงการ ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี

ที่อยู่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-l3327-01-03 เลขที่ข้อตกลง 3/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี



บทคัดย่อ

โครงการ " ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-l3327-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยสถานการณ์โรคไวรัสตับอักเสบบีทั่วโลก พบผู้ติดเชื้อไวรัสตับ อักเสบบีเรื้อรังทั่วโลก กว่า ๒๕๗ ล้านคน ส่วนสถานการณ์ในประเทศไทย พบผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ประมาณ ๒๒-๓ ล้านคน โดยการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B virus : HBV) ส่งผลต่อการเจ็บป่วย เช่น มะเร็งตับพบในเพศชาย (ล.๔ ต่อแสนประชากร) และพบในเพศหญิง (๑๒๓ ต่อแสนประชากร) มีช่องทางการติดเชื้อ คือทางเลือด เพศสัมพันธ์ และการถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูก ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสที่อันตราย หากได้รับเชื้อแล้วไม่เข้าสู่กระบวนการรักษา มีโอกาสเป็นตับอักเสบเรื้อรัง ตับวาย ตับแข็ง และมะเร็งตับได้ทั้งนี้ โรคไวรัสตับอักเสบบีสามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบี และรักษาได้ด้วยการรับประทานยาต้านไวรัส เพื่อควบคุมปริมาณไวรัสในร่างกาย ลดภาวะการเกิดพังผืดของตับ ชะลอการเกิดตับแข็ง และลดการเกิดมะเร็งตับ แต่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้น กรมควบคุมโรค จึงเร่งส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของโรคไวรัสตับอักสบบี สามารถประเมินความเสี่ยงของตนเองและคนรอบข้าง หากมีพฤติกรรมเสี่ยงให้เข้ารับบริการตรวจคัดกรองและการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบบีโดยเร็ว สถานการณ์โรคไวรัสตับอักเสบซีในอดีต ปี พ.ศ.๒๕๕ มีรายงานผู้ป่วยรวม ๑,๑๔๐ ราย (ร้อยละ๑๑.๔๒ ของผู้ป่วยตับอักเสบรวม) อัตราป่วย ด.๘๑ ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิตพบผู้ป่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง เพศชาย ๗๒๖ ราย เพศหญิง ๔๑๔ ราย อัตราส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ .๗ : ๑ กลุ่มอายุที่พบสูงสุด คือกลุ่มอายุ ๕ -๕๔ ปี รองลงมาคือ กลุ่มอายุ ๕๕ -๖๔ ปี และ๓๕ -๔๔ ปี อัตราป่วย ๔๒๖, .๔๓ และ ๒.๕๕ ต่อประชากรแสนคน ตามลำดับพบผู้ป่วยใหมในทุกเดือนโดยพบสูงสุดในเดือน ตุลาคมจำนวนผู้ป่วย เท่ากับ ๑๓๐ ราย และต่ำสุดในเดือน ธันวาคมและ สิงหาคม เท่ากับ ๗๗ ราย โดยในปี พ.ศ.๒๕๕๐ พบผู้ป่วยใหม่สูงกว่าค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปีในทุกเดือนในบรรดาโรคร้ายที่คุกคามร่างกายเราได้ อย่างเงียบเชียบ ไวรัสตับอักเสบซี ถือเป็นโรคที่น่าเป็นห่วงมากที่สุดโรคหนึ่ง ทั้งนี้เพราะในบรรดาโรคไวรัสตับอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่มีอยู่ ถึง ๕ ชนิด คือ A, B, C, D และ E ไวรัสที่พบมากที่สุดคือไวรัสตับอักเสบชนิดซี เพราะสามารถเป็นเรื้อรังได้บ่อย ไม่ติดต่อทางอาหาร และผู้ป่วยมักไม่ทราบ ว่าตัวเองติดเชื้อ ที่ร้าย กว่านั้นคือ ไวรัสตับอักเสบซี เป็นอีกสาเหตุสำคัญของมะเร็งตับ ไวรัสตับอักเสบซี ถูกค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ เป็นไวรัสตับอักเสบชนิดหนึ่งที่ทำให้เกิดการอักเสบในตับ สามารถทำให้เกิดการตับ อักเสบทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรังตลอดจนตับแข็งและมะเร็งดับ ความรุนแรงของไวรัสชนิดนี้คือ เป็นตับอักเสบเรื้อรังมากกว่าชนิดอื่น และยังไม่มีวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ ทำได้ก็เพียงการให้ยาลดไวรัสและป้องกันการเกิดมะเร็งตับเท่านั้น ทั้งนี้ หากประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีให้เข้ารับการคัดกรองและเข้าสู่ระบบริการรักษาโดยเร็ว เพื่อป้องกันการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี ภาวะตับแข็ง และโรคมะเร็งตับ เพื่อนำไปสู่การกำจัดโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีให้หมดไปภายในปี๒๕๗๓ และเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุขให้ประชาชนกลุ่มเสียงอาย ๓๒ ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองการติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี จำนวน ๑ ครั้ง รพ.สต.บ้านพรุนายขาว ได้เห็นความสำคัญของการให้ความรู้ คัดกรอง ค้นหา ประชาชนกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี และไวรัสตับอักเสบซีปี ๒๕๖๘ เพื่อหาแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกัน การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี และการส่งต่อเพื่อเข้าสู่ระบบการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี 2.เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีรายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยและรักษาทีถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นปี ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี 2.ผุ็ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี รายใหม่ได้รับการส่งต่อ วินิจฉัย รักษาพยาบาลทุกราย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี 2.เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีรายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยและรักษาทีถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี และได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอัเสบบีและไวรัสตับอัเสบซี 2.ผู้เข้าร่วมโครงการคัดกรองผลติดเชื้อไวรัสตับอัเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีรายใหม่ได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
150.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 32 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหา การติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี 2.เพื่อให้ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซีรายใหม่ได้รับการส่งต่อวินิจฉัยและรักษาทีถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ค้นหากลุ่มเสี่ยงติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีและไวรัสตับอักเสบซี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-l3327-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกำไล สุดใหม่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด