directions_run
โครงการ อสม.ร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs)
ชื่อโครงการ | โครงการ อสม.ร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) |
รหัสโครงการ | 68-l3327-02-10 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านควนเล้าเป็ด |
วันที่อนุมัติ | 19 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 13,760.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวภาวนา วัฒขาว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และมะเร็ง เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะในกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การป้องกันและจัดการโรคเหล่านี้จึงเป็นสิ | 1.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปมีการประเมินสุขภาพและติดตามสุขภาพอย่างต่อเนื่อง 2. เพื่อสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 3. เพื่อสนับสนุนการจัดตั้ง Health Station ในชุมชน เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการประเมินสุขภาพได้ง่ายและสะดวก 4. เพื่อจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ที่จำเป็นในการประเมินสุขภาพ เช่น เครื่องชั่งน้ำหนัก
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 13,760.00 | 0 | 0.00 | |
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | โครงการ อสม.ร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCDs) | 0 | 13,760.00 | - |
- ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการประเมินสุขภาพและตรวจคัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อย่างน้อย 80% ของกลุ่มเป้าหมาย
- ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจในการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 70% ของผู้เข้าร่วมโครงการ
- ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และภาวะแทรกซ้อนในชุมชนเป้าหมาย
- อสม. มีความรู้และทักษะในการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เพิ่มขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ม.ค. 2568 00:00 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ