โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงผู้สูงวัยบางปู "ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่เศร้า กินข้าวอร่อย" ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงผู้สูงวัยบางปู "ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่เศร้า กินข้าวอร่อย" ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68L70080219 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม healthy aumahak takwa |
วันที่อนุมัติ | 13 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 30,605.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายยาการียา เจะเด็ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายไพรจิตร บุญช่วย |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบางปู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการศึกษาข้อมูลพบว่าโครงสร้างประชากรของประเทศไทย กลุ่มประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั่งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้ เนื่องมาจาก การพัฒนาด้านสาธารรณสุขและทางแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุข ผู้สูงอายุ ถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่ง เนื่องจากผ่านประสบการณ์มามาก และเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย ในปัจจุบันเป็นสังคมที่มีการแข่งขันในเรื่องการทำงาน บุตรหลานซึ่งเป็นวัยทำงาน จะต้องออกไปนอกบ้าน กว่าจะกลับมาก็ค่ำ ทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวระหว่าง พ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย หรือญาติผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้สูงวัยลดน้อยลง มีช่องว่างระหว่างวัย ผู้สูงอายุถูกปล่อยให้อยู่กับบ้าน รู้สึกน้อยใจ ไม่มีคุณค่า ทำให้เกิดโรคซึมเศร้าได้ มีจำนวนผู้สูงอายุที่ติดบ้านและมีปัญหาในเรื่อง นอนไม่หลับ เศร้า และมีปัญหาในการพูดคุยกับลูกหลานในครอบครัว และไม่สามารถไปร่วมกิจกรรมนอกพื้นที่ได้ ดังนั้นทางชมรมhealthy อุมมาฮาก ตักวา ได้เห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ และความเป็นอยู่ทั้งสุขภาพกาย สุขภาพใจ การปรับตัว การอยู่ร่วมกับครอบครัวและสังคม ได้อย่างมีความสุข ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าชีวิตมีคุณค่า สามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และทัศนคติในการดูแลสุขภาพดีทั้งกายและใจ ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพของช่วงวัย |
0.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ร้อยละ 70 ของผู้เข้าร่วมอบรมใช้เวลาร่วมกิจกรรมกับชมรม หรือร้อยละ 70 ได้นำวิธีการออกกำลังกายไปใช้จริง |
0.00 | |
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีทักษะในการใช้หรือจัดทำอุปกรณ์ออกกำลังกายอย่างง่าย ร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถทำอุปกรณ์ออกกำลังกายอย่างง่ายสำหรับตนเองได้ |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 30,605.00 | 0 | 0.00 | 30,605.00 | |
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | จัดประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ และวางแผนการดำเนินงานในชุมชน แก่ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผอ.รพ.สต.บางปู และอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลบางปู | 0 | 1,530.00 | - | - | ||
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | ตรวจคัดกรองสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการโดยใช้คู่มือ สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ Blue book | 0 | 11,125.00 | - | - | ||
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ การดูแลสุขภาพตนเอง การออกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย แก่ผู้สูงอายุในพื้นที่ | 0 | 12,750.00 | - | - | ||
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | จัดทำอุปกรณ์ออกกำลังกายและปรับสภาพแวดล้อมบริเวณโรงเรียนผู้สูงอายุให้เหมาะสมกับการส่งเสริมสุขภาพ | 0 | 1,000.00 | - | - | ||
3 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมติดตามผลสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการหลังได้รับการอบรมโดยใช้คู่มือ สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ Blue book | 0 | 4,200.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 30,605.00 | 0 | 0.00 | 30,605.00 |
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีทั้งกายและใจ
2.ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3.มีอุปกรณ์ช่วยเหลือในการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ม.ค. 2568 00:00 น.