โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง ”
ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
อสม. หมู่ที่ 3 บ้านป่ายาง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง
ที่อยู่ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5175-02-01 เลขที่ข้อตกลง 68-L5175-02-01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5175-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคสำคัญที่คุกคามต่อสุขภาพของประชาชนวัยกลางคนและวัยสูงอายุเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรัง รักษาไม่หายขาด ทั้งยังเป็นโรคที่สัมพันธ์กับวัยที่เพิ่มมาก และการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมัน รสหวานจัด และรสเค็ม การขาดการจัดการกับความเครียด เป็นต้น หากป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จะมีโอกาสเกิดเส้นเลือดฝอยในสมองแตก ไตวาย และที่สำคัญคือเกิดโรคเรื้อรังซ้ำซ้อนได้แก่ อัมพาต และเสียชีวิตในที่สุด และหากป่วยเป็นโรคเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้ จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเกิดการคั่งของกรดในเลือดสูง หลอดเลือดแดงแข็ง ความพิการต่อจอประสาทตา โรคไต แผลเนื้อตายที่เท้าและเกิดการติดเชื้อได้ง่าย ดังนั้น การดูแลตนเองในกลุ่มที่เจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับ น้ำตาลในเลือด ป้องกันการดำเนินของโรคที่รุนแรงมากขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอย่างปกติสุข ต่อไป ดังนั้นการรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การรับรู้โอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อน และการมีความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองจากการปฏิบัติตัวของตนเอง จึงเป็นปัจจัยที่สำคัญของการเกิดพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม
สำหรับสถานการณ์ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช่องเขา มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 263คน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีผู้ป่วย 100 คน ปีงบประมาณ 2567 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรองทั้งหมด 602 คน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง คัดกรองได้ 573 คน คิดเป็นร้อยละ 95.18 พบกลุ่มปกติ 500 คน คิดเป็นร้อยละ 83.05 กลุ่มเสี่ยงความดัน 37 คน เป็นร้อยละ 61.46 กลุ่มสงสัยป่วย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 1.99 กลุ่มป่วยส่งพบแพทย์ ได้รับการวินิจฉัย จำนวน 2 คน คัดกรองโรคเบาหวานจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 768 คน คัดกรองได้ 732 คน คิดเป็นร้อยละ 95.31 พบกลุ่มปกติ 728 คน คิดเป็นร้อยละ 94.79 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 4 คน เป็นร้อยละ 0.54 กลุ่มสงสัยป่วย 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.54 กลุ่มป่วยส่งพบแพทย์ ได้รับการวินิจฉัย จำนวน 1 คน ฉะนั้นต้องได้รับการวัดความดันโลหิตหรือตรวจหาน้ำตาลในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 ได้ตระหนักถึงความสำคัญและเป็นกำลังหลักในการคัดกรองเบาหวานความดัน จึงได้จัดทำโครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ดูแลสุขภาพของตนเอง รับรู้และใส่ใจด้านสุขภาพ มีการเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา และภาระต่าง ๆ ต่อครอบครัวและสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์และเชิญชวนอสม.บ้านป่ายางและกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรม
- กิจกรรมจัดประชุมให้ความรู้อสม.บ้านป่ายาง ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมฝึกปฏิบัติทักษะ - การวัดความดันโลหิต - เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว - การวัดรอบเอว - คำนวณ BMI
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อสม.บ้านป่ายาง มีความรู้และทักษะในการตรวจวัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว
2.อสม.บ้านป่ายาง มีความรู้เรื่อง 3อ2ส
3.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามและส่งต่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
350
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์และเชิญชวนอสม.บ้านป่ายางและกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรม (2) กิจกรรมจัดประชุมให้ความรู้อสม.บ้านป่ายาง ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมฝึกปฏิบัติทักษะ - การวัดความดันโลหิต - เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว - การวัดรอบเอว - คำนวณ BMI
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5175-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( อสม. หมู่ที่ 3 บ้านป่ายาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง ”
ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
อสม. หมู่ที่ 3 บ้านป่ายาง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5175-02-01 เลขที่ข้อตกลง 68-L5175-02-01
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5175-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคสำคัญที่คุกคามต่อสุขภาพของประชาชนวัยกลางคนและวัยสูงอายุเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรัง รักษาไม่หายขาด ทั้งยังเป็นโรคที่สัมพันธ์กับวัยที่เพิ่มมาก และการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมัน รสหวานจัด และรสเค็ม การขาดการจัดการกับความเครียด เป็นต้น หากป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จะมีโอกาสเกิดเส้นเลือดฝอยในสมองแตก ไตวาย และที่สำคัญคือเกิดโรคเรื้อรังซ้ำซ้อนได้แก่ อัมพาต และเสียชีวิตในที่สุด และหากป่วยเป็นโรคเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้ จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเกิดการคั่งของกรดในเลือดสูง หลอดเลือดแดงแข็ง ความพิการต่อจอประสาทตา โรคไต แผลเนื้อตายที่เท้าและเกิดการติดเชื้อได้ง่าย ดังนั้น การดูแลตนเองในกลุ่มที่เจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับ น้ำตาลในเลือด ป้องกันการดำเนินของโรคที่รุนแรงมากขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอย่างปกติสุข ต่อไป ดังนั้นการรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การรับรู้โอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อน และการมีความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองจากการปฏิบัติตัวของตนเอง จึงเป็นปัจจัยที่สำคัญของการเกิดพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม สำหรับสถานการณ์ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลช่องเขา มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 263คน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีผู้ป่วย 100 คน ปีงบประมาณ 2567 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรองทั้งหมด 602 คน ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง คัดกรองได้ 573 คน คิดเป็นร้อยละ 95.18 พบกลุ่มปกติ 500 คน คิดเป็นร้อยละ 83.05 กลุ่มเสี่ยงความดัน 37 คน เป็นร้อยละ 61.46 กลุ่มสงสัยป่วย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 1.99 กลุ่มป่วยส่งพบแพทย์ ได้รับการวินิจฉัย จำนวน 2 คน คัดกรองโรคเบาหวานจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 768 คน คัดกรองได้ 732 คน คิดเป็นร้อยละ 95.31 พบกลุ่มปกติ 728 คน คิดเป็นร้อยละ 94.79 กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 4 คน เป็นร้อยละ 0.54 กลุ่มสงสัยป่วย 4 คน คิดเป็นร้อยละ 0.54 กลุ่มป่วยส่งพบแพทย์ ได้รับการวินิจฉัย จำนวน 1 คน ฉะนั้นต้องได้รับการวัดความดันโลหิตหรือตรวจหาน้ำตาลในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 3 ได้ตระหนักถึงความสำคัญและเป็นกำลังหลักในการคัดกรองเบาหวานความดัน จึงได้จัดทำโครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง ขึ้น เพื่อสร้างความตระหนักให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ดูแลสุขภาพของตนเอง รับรู้และใส่ใจด้านสุขภาพ มีการเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา และภาระต่าง ๆ ต่อครอบครัวและสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชาสัมพันธ์และเชิญชวนอสม.บ้านป่ายางและกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรม
- กิจกรรมจัดประชุมให้ความรู้อสม.บ้านป่ายาง ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
- กิจกรรมฝึกปฏิบัติทักษะ - การวัดความดันโลหิต - เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว - การวัดรอบเอว - คำนวณ BMI
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อสม.บ้านป่ายาง มีความรู้และทักษะในการตรวจวัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว 2.อสม.บ้านป่ายาง มีความรู้เรื่อง 3อ2ส 3.กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามและส่งต่อ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 350 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์และเชิญชวนอสม.บ้านป่ายางและกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมกิจกรรม (2) กิจกรรมจัดประชุมให้ความรู้อสม.บ้านป่ายาง ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมฝึกปฏิบัติทักษะ - การวัดความดันโลหิต - เจาะน้ำตาลปลายนิ้ว - การวัดรอบเอว - คำนวณ BMI
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอสม.บ้านป่ายาง ร่วมใจต้านภัยเบาหวานความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5175-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( อสม. หมู่ที่ 3 บ้านป่ายาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......