โครงการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก |
รหัสโครงการ | 68-L5234-3-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.กระดังงา |
วันที่อนุมัติ | 23 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 13,260.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | น.ส.พนิดา ตำภู |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกระดังงา อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.509,100.427place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 84 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี ป้องกันโรคฟันผุ สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคนโดยเฉพาะเป็นเด็กปฐมวัย โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพ่ิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมากจากพฤติกรรมการดแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงฯ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้ความรู้เรื่องทันตอนามัย โภชนาการทีดีและมีประโยชน์ต่อสุขภาพฟันของเด็กเล็ก 2.เพื่อสร้างสุขนิสัยและฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากให้เด็กเล็ก -ครูผู้ดูแลเด็กและเด็กเล็กตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน มีส่วนร่วมและส่งสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน เด็กเล็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี -เด็กเล็กผ่านการประเมินผลการแปรงฟันที่ถูกวิธีไม่น้อยกว่าร้อยละ 50% -หลังจากนั้น 2 เดือนดำเนินการประเมินผลการแปรงฟันอีกครั้งสำหรับเด็กเล็กที่ไม่ผ่านการประเมินผล |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.อัตราของการเกิดฟันผุในเด็กเล็กลดลง 2.เด็กเล็กทุกคนมีสุขภาพอนามัยในช่องปากที่ดี 3.เด็กเล็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมกับครู ผู้ดูแลเด็กในการป้องกันโรคฟันผุ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 2568 11:28 น.