directions_run
ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568
ชื่อโครงการ | ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L1464-1-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนธานี |
วันที่อนุมัติ | 17 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 15 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 31,350.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางจิรารัตน์ งามวัฒนะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลควนธานี อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | โรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย และยังมีแนวโน้มว่าเป็น ปัญหาในอนาคต เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราการตาย และการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกส่งผล ต่อสุขภาพผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชนและสังคม ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกสามารถเกิดขึ้นไ | 4.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการศึกษาสาเหตุที่สำคัญของการดำเนินการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออกไม่ประสบความสำเร็จ คือ ประชาชนขาดความตระหนัก และขาดความเอาใจใส่ในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออก 1.อัตราป่วยไข้เลือดออกไม่เกินเกณฑ์ (1๐/แสนประชากร) |
34.00 | 80.00 |
2 | 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนัก และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน และชุมชนของตนเอง ๒.ความชุกของลูกน้ำยุงลายลดลงโดยค่าHI ต่ำกว่า 5 |
4.00 | 80.00 |
3 | 3.ทุกโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และศาสนสถาน ปลอดลูกน้ำยุงลายมีค่าดัชนีความชุกชุม CI เป็น 0 3.ทุกโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และศาสนสถาน ปลอดลูกน้ำยุงลายมีค่าดัชนีความชุกชุม CI เป็น 0 |
4.00 | 80.00 |
4 | 4.แกนนำครอบครัวมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก การควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 4.แกนนำครอบครัวมีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก การควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 |
4.00 | 50.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 31,350.00 | 0 | 0.00 | |
1 มี.ค. 68 - 15 ก.ย. 68 | 2.กิจกรรมรณรงค์วันไข้เลือดออกอาเชียน | 0 | 11,500.00 | - | ||
1 - 30 เม.ย. 68 | กิจกรรม1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก การควบคุม และป้องกันโรค แก่แกนนำครอบครัว จำนวน 100 คน | 0 | 19,600.00 | - | ||
1 เม.ย. 68 - 31 ส.ค. 68 | 3.กิจกรรม สำรวจลูกน้ำยุงลายเดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 ครั้ง | 0 | 250.00 | - |
- ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
- ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักในการป้องกันตนเอง และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
- ประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมและดำเนินการควบคุมโรคอย่างยั่งยืน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ม.ค. 2568 09:52 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ