โครงการเด็กไทยสายตาดี I see the future
ชื่อโครงการ | โครงการเด็กไทยสายตาดี I see the future |
รหัสโครงการ | 68-L2475-01-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือก |
วันที่อนุมัติ | 16 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กรกฎาคม 2568 |
งบประมาณ | 22,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมัสตูรา ดือรามะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.997,101.573place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 125 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในพื้นที่ตำบลช้างเผือก ได้รับการคัดกรองสายตา | 125.00 | ||
2 | เพื่อให้นักเรียนที่มีความผิดปกติทางสายตาได้รับแว่นสายตา | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การมองเห็นส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้และการทำกิจกรรมของเด็กนักเรียน ปัญหาการมองเห็นมีผลมาจากภาวะสายตาผิดปกติ (สายตาสั้น สายตายาว ตาเอียง) ตาเข สายตาขี้เกียจ หรือสายตาอื่นๆ เด็กไม่รู้ว่าตนเองมีสายตาผิดปกติ เพราะคุ้นชินกับสิ่งที่เป็นอยู่ทุกวัน ซึ่งความผิดปกติบางอย่าง หากไม่ได้รับการแก้ไขในช่วงเวลาที่สามารถทำได้จะทำให้การมองเห็นสูญเสียถาวร การหมั่นสังเกตของคนใกล้ชิดโดยเฉพาะครอบครัวเด็กหรือครูจะช่วยให้พบเด็กที่มีปัญหาการมองเห็นได้ การตรวจคัดกรองสายตาในเด็กนักเรียนประถมศึกษา จึงเป็นมาตรการหนึ่งที่จะช่วยให้พบเด็กนักเรียนที่มีปัญหาการมองเห็นแต่เนิ่น หากพบว่าสายตาผิดปกติจากสายตา สั้น ยาว เอียง จะได้รับการแก้ไขโดยใส่แว่นตา แต่หากเป็นตาเขตาขี้เกียจ หรือตาอื่นๆ จะได้รับการรักษาด้วยวิธีการอื่นต่อไป งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลช้างเผือก จึงจัดทำโครงการเด็กไทยสายตาดี I see the future ขึ้น เพื่อแก้ไขความผิดปกติทางการมองเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในพื้นที่ตำบลช้างเผือก
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการคัดกรองสายตาในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วย E-chart จำนวนนักเรียนที่ได้รับการคัดกรองสายตาด้วย E-chart เป้าหมาย 125 คน |
125.00 | |
2 | เพื่อให้นักเรียนที่มีความผิดปกติทางสายตาได้รับแว่นสายตา ร้อยละของนักเรียนที่มีปัญหาทางสายตาได้รับแว่นสายตา เป้าหมาย ร้อยละ 100 |
100.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 250 | 22,500.00 | 0 | 0.00 | |
1 - 30 มิ.ย. 68 | กิจกรรม ตรวจคัดกรองสายตานักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วย E-chart | 125 | 9,375.00 | - | ||
15 - 30 มิ.ย. 68 | กิจกรรม คัดกรองซ้ำด้วยเครื่อง auto refraction สำหรับเด็ก ที่มีความผิดปกติ va 20/30 | 125 | 13,125.00 | - |
เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในพื้นที่ตำบลช้างเผือก ได้รับการตรวจคัดกรองสายตาและที่มีความผิดปกติทางสายได้รับแว่นสายตา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ม.ค. 2568 14:15 น.