โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3312-1-08 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย |
วันที่อนุมัติ | 19 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 19 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 20,280.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายภานุวัฒน์ พรหมสังคหะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางวาลัยพร ด้วงคง |
พื้นที่ดำเนินการ | รพ.สต.บ้านท่าควาย |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนผู้สูบบุหรี่ | 373.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การบำบัดรักษาในปัจจุบันของผู้ที่เป็นโรคติดบุหรี่ แบ่งออกเป็น 5 วิธีใหญ่ๆ คือ 1) การหักดิบคือการหยุดสูบบุหรี่แบบทันทีทันใด เป็นการเลิกด้วยตนเองโดยอาศัยความอดทนและกำลังใจ อย่างเดียว 2) การให้คำปรึกษาพฤติกรรมบำบัด และจิตสังคมบำบัด 3) การใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่ เช่น ยาบูโพรเพียน (Bupropion) เพื่อลดอาการขาดนิโคตินหรือการใช้นิโคตินทดแทน 4) การใช้การให้คำปรึกษา และ พฤติกรรมบำบัด จิตสังคมบำบัดร่วมกับการใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่หรือการใช้นิโคตินทดแทนโดยเฉพาะการให้ คำปรึกษาและพฤติกรรมบำบัด (Counseling and behavioral therapies) ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่า เป็นแนวทางที่เพิ่มความสำเร็จในการเลิกสูบบุหรี่ และให้ผลตอบแทนคุ้มค่าสามารถลดอัตราการสูบบุหรี่และ ควบคุมการแพร่ระบาดของการสูบบุหรี่ได้ 5) การบำบัดโดยใช้สมุนไพรลดอาการอยากสูบบุหรี่ คือ หญ้าดอกขาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย มีปัญหาด้านสุขภาพของประชากรที่หลากหลาย รวมถึงปัญหาการสูบบุหรี่ จากสถิติผู้ป่วยเลิกบุหรี่ที่ผ่านมาสรุปได้ว่า ปี พ.ศ. 2566-2567 มีผู้เข้าคลินิกเลิกบุหรี่ จำนวน 29 ราย สามารถเลิกได้ จำนวน 2 ราย ไม่สามารถเลิกได้ จำนวน 34 ราย ไม่สามารถติดตามได้ จำนวน 5 ราย คลินิกเลิกบุหรี่ เห็นความสำคัญในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาจากการสูบบุหรี่ จึงมีการประเมินรูปแบบการลดการสูบบุหรี่ โดยให้ผู้ที่ต้องการลดสูบบุหรี่ได้รับการประเมินอาการและให้ได้รับการรักษาพยาบาล อย่างถูกต้อง เหมาะสม ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ จึงต้องการศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ เพื่อให้ผู้ที่ต้องการลดสูบบุหรี่ได้ใช้ชีวิตได้อย่างเหมาะสม และอยู่ในสังคมปกติสุขต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ร้อยละผู้สูบบุหรี่มีความรู้ในการใช้ยาสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ |
20.00 | 80.00 |
2 | เพื่อศึกษาประสิทธิผลสเปรย์สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ร้อยละผู้สูบหรี่หลังใช้ยาสมุนไพรสามารลดบุหรี่ได้ |
5.55 | 20.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 20,280.00 | 0 | 0.00 | 20,280.00 | |
??/??/???? | วิธีการ/ขั้นตอน | 0 | 3,480.00 | - | - | ||
??/??/???? | ประเมินผลการลดบุหรี่โดยตรวจวัดคะแนนการทดสอบการติดสารนิโคติน (FTND) และจำนวนมวนบุหรี่ที่สูบต่อวัน ก่อนเข้าร่วมโครงการ | 0 | 0.00 | - | - | ||
??/??/???? | กิจกรรมการใช้สมุนไพรหญ้าดอกขาวกับชาชงสมุนไพรหญ้าดอกขาวช่วยลดบุหรี่ ผู้เข้าร่วมโครงการ 60 คน | 0 | 16,800.00 | - | - | ||
??/??/???? | การติดตาม ประเมินผลพฤติกรรมการสูบบุหรี่ หลังใช้ยาสมุนไพรช่วยลดบุหรี่ | 0 | 0.00 | - | - | ||
??/??/???? | สรุปและประเมินผลโครการ | 0 | 0.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 20,280.00 | 0 | 0.00 | 20,280.00 |
1 หน่วยงานสามารถดำเนินงานพัฒนามาตรการเชิงรุก ในการบำบัดผู้ติดบุหรี่ได้ครอบคลุมบรรลุตามเป้าหมาย
2 สามารถนำไปใช้ในการวางแผนการดำเนินงานการใช้ยาเลิกบุหรี่ อย่างเหมาะสมต่อไป
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ม.ค. 2568 11:20 น.