โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568 ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลบาเจาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาเจาะ
กุมภาพันธ์ 2568
ชื่อโครงการ โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L8279-01-68 เลขที่ข้อตกลง 1/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 18 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L8279-01-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กุมภาพันธ์ 2568 - 18 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ของโรคมะเร็ง เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา ในประเทศไทย โรคมะเร็งพบมากที่สุดในกลุ่มอายุ 45 –50 ปี ทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งต้องมีการคันหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากผลการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear และ HPV DNA ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี การตรวจเต้านมด้วยตนเอง และการตรวจ Fit test ในกลุ่มอายุ 50-70 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ได้ เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว อันจะช่วยทำให้พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ได้ตั้งแต่ระยะแรกได้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกทางหนึ่ง จากเหตุผลเบื้องต้น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก /มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ เป็นงานหลักให้กับทุกสถานบริการเร่งรัดการดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 30- 70 ปี ที่ผ่านมา
จากการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งของ รพ.บาเจาะ ปี 2567 พบปัญหาในเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ เป็นการดำเนินงานที่บรรลุเป้าหมายยากมาก เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค มีความอายในการมาตรวจ ให้ความสำคัญการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองน้อย ขาดทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ไม่ยอมรับการตรวจ ทำให้การดำเนินงานยังไม่ครอบคลุม จึงมีความจำเป็นที่เครือข่ายสุขภาพ ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ต้องมีการรณรงค์ในการให้ความรู้พร้อมทั้งชักชวนให้กลุ่มเป้าหมายรับการตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมและเพิ่มการเข้าถึงในการเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งในกลุ่มสตรีอายุ 30 – 60 ปี และประชาชนอายุ 50 – 70 ปีให้ได้มากที่สุด ประกอบกับวิธีการสมัยใหม่ที่มีการพัฒนาให้ประชาชนสามารถตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้ด้วยตนเอง จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว ทางกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลบาเจาะ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันให้ห่างไกลจากโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ได้ดีตามบริบทของพื้นที่ พัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการเฝ้าระวังให้กลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อันส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
- เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกหรือเต้านม และลำไส้ใหญ่ ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษา และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรี/ประชาชน อายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง และมีทัศนคติที่ดีต่อการรับบริการตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง
- อัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกหรือเต้านม และลำไส้ใหญ่ ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษา และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ (3) เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกหรือเต้านม และลำไส้ใหญ่ ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษา และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L8279-01-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลบาเจาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568 ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลบาเจาะ
กุมภาพันธ์ 2568
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L8279-01-68 เลขที่ข้อตกลง 1/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 18 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L8279-01-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กุมภาพันธ์ 2568 - 18 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ของโรคมะเร็ง เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา ในประเทศไทย โรคมะเร็งพบมากที่สุดในกลุ่มอายุ 45 –50 ปี ทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งต้องมีการคันหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรก และในระยะก่อนเป็นมะเร็ง ซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม และจากผลการศึกษาขององค์การอนามัยโลก ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear และ HPV DNA ในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี การตรวจเต้านมด้วยตนเอง และการตรวจ Fit test ในกลุ่มอายุ 50-70 ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ได้ เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว อันจะช่วยทำให้พบผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ได้ตั้งแต่ระยะแรกได้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งได้อีกทางหนึ่ง จากเหตุผลเบื้องต้น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้กำหนดการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก /มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ เป็นงานหลักให้กับทุกสถานบริการเร่งรัดการดำเนินการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 30- 70 ปี ที่ผ่านมา จากการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งของ รพ.บาเจาะ ปี 2567 พบปัญหาในเรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ เป็นการดำเนินงานที่บรรลุเป้าหมายยากมาก เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค มีความอายในการมาตรวจ ให้ความสำคัญการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองน้อย ขาดทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ไม่ยอมรับการตรวจ ทำให้การดำเนินงานยังไม่ครอบคลุม จึงมีความจำเป็นที่เครือข่ายสุขภาพ ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ต้องมีการรณรงค์ในการให้ความรู้พร้อมทั้งชักชวนให้กลุ่มเป้าหมายรับการตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมและเพิ่มการเข้าถึงในการเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งในกลุ่มสตรีอายุ 30 – 60 ปี และประชาชนอายุ 50 – 70 ปีให้ได้มากที่สุด ประกอบกับวิธีการสมัยใหม่ที่มีการพัฒนาให้ประชาชนสามารถตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกได้ด้วยตนเอง จากเหตุผลและความจำเป็นดังกล่าว ทางกลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลบาเจาะ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการดูแลตนเอง และมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันให้ห่างไกลจากโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ได้ดีตามบริบทของพื้นที่ พัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการเฝ้าระวังให้กลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อันส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่
- เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกหรือเต้านม และลำไส้ใหญ่ ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษา และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรี/ประชาชน อายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง และมีทัศนคติที่ดีต่อการรับบริการตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง
- อัตราการป่วยด้วยโรคมะเร็งลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกหรือเต้านม และลำไส้ใหญ่ ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษา และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 60 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านมและได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับความรู้และตระหนักถึง ความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ และเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ (3) เพื่อให้ผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติ ของเซลล์มะเร็งปากมดลูกหรือเต้านม และลำไส้ใหญ่ ได้รับการตรวจวินิจฉัยรักษา และได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ มะเร็งป้องกันได้ รู้ไว โอกาสหายสูง ตำบลบาเจาะ ปี 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ L8279-01-68
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลบาเจาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......