กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการขยะในชุมชน ด้วยกระบวนการธนาคารขยะ องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง ปี 2568
รหัสโครงการ 68-L3046-04-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ งานสาธารณสุข สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง
วันที่อนุมัติ 30 กันยายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 71,675.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวซาลีขอ สะระดล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.813,101.402place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 250 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
0.00
2 จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งมาจาก ขยะ ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อาทิ เป็นแหล่งอาหาร และแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจ่ายเชื้อโรค มีกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรกน่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมาก เกิดกลิ่นรบกวน เป็นแหล่งสะสม เชื้อโรค ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน พระราชบัญญัติการสาธารณสุข ให้ความหมายว่า ขยะมูลฝอย คือ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร มูลสัตว์ เถ้าหรือซากสัตว์ รวมถึงสิ่งอื่นสิ่งใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น ๆจากความหมายดังกล่าวได้รับการตอกย้ำด้วยแนวคิดที่เห็นคุณค่าจากขยะดังเช่น “พอเพียง= enough” “ขยะ คือ ทรัพยากร” การใช้ทรัพยากรอย่างพอดี เห็นคุณค่า บวกกับการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านกับวัสดุเหลือใช้ที่มีรอบบ้าน เป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาขยะ โรงเรียนบ้านป่างาม ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกล่าวซึ่งโรงเรียนก็ประสบปัญหามีขยะจำนวนมากไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งมีการกำจัดขยะโดยการนำขยะทุกประเภทไปเผารวมกันเนื่องจากบุคลากรและนักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างถูกวิธีทำให้เกิดมลพิษภายในโรงเรียน ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียน ครูและบุคลากร ร่วมถึงชุมชนโรงเรียนจึงได้หาแนวทางการแก้ปัญหาการจัดการขยะภายในโรงเรียนโดยได้จัดทำโครงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อสุขภาพแข็งแรง ขึ้น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้กับนักเรียน บุคลากรผู้ปกครองและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาลดการใช้คัดแยกขยะ การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่อย่างเหมาะสม กำจัดขยะอย่างถูกวิธีร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชนให้มีความสะอาดและสวยงามอยู่เสมอไม่มีมลพิษภายในโรงเรียน ทุกคนจะได้มีสุขภาพอนามัยที่ดี โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการร่วมกิจกรรมสร้างเสริมและปลูกจิตสำนึกให้แก่ผู้เรียน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

0.00 15.00
2 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน

1.00 3.00
3 เพื่อป้องกันโรคของเจ้าหน้าที่คัดแยกขยะ ที่มาจากขยะ

ร้อยละ 100 เจ้าหน้าที่คัดแยกขยะได้รับชุดอุปกรณ์ป้องกันระหว่างการปฏิบัติงาน ร้อยละ 100 เจ้าหน้าที่คัดแยกขยะได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีโดย รพ.ในจังหวัด

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณธ.ค. 67ม.ค. 68ก.พ. 68มี.ค. 68เม.ย. 68พ.ค. 68มิ.ย. 68ก.ค. 68ส.ค. 68ก.ย. 68
1 ประชุมชี้แจงและติดตามการดำเนินงานธนาคารขยะระดับชุมชน(1 ธ.ค. 2567-28 ก.พ. 2568) 1,500.00                    
2 สนับสนุนการดำเนินงาน ธนาคารขยะ(1 ธ.ค. 2567-1 ธ.ค. 2567) 12,900.00                    
3 รณรงค์การคัดแยกขยะ recycle ในสถานศึกษา เขตองค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง(1 ธ.ค. 2567-31 ก.ค. 2568) 39,875.00                    
4 ส่งเสริมสุขภาพด้วยการสนับสนุนอุปกรณ์เพื่อป้องกันการสัมผัสขยะโดยตรง สำหรับเจ้าหน้าที่คัดแยกขยะ(5 ก.พ. 2568-30 ก.ย. 2568) 6,400.00                    
5 ติดตาม ประเมินสุขภาพตามความเสี่ยงของเจ้าหน้าที่ที่คัดแยกขยะ(21 ส.ค. 2568-31 ส.ค. 2568) 10,500.00                    
6 สรุปถอดบทเรียน(1 ก.ย. 2568-6 ก.ย. 2568) 500.00                    
รวม 71,675.00
1 ประชุมชี้แจงและติดตามการดำเนินงานธนาคารขยะระดับชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 1,500.00 0 0.00 1,500.00
5 ก.พ. 68 ประชุมชี้แจงและติดตามการดำเนินงานธนาคารขยะระดับชุมชน 0 1,500.00 - -
2 สนับสนุนการดำเนินงาน ธนาคารขยะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 12,900.00 0 0.00 12,900.00
5 ก.พ. 68 สนับสนุนการดำเนินงาน ธนาคารขยะ 0 12,900.00 - -
3 รณรงค์การคัดแยกขยะ recycle ในสถานศึกษา เขตองค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 39,875.00 0 0.00 39,875.00
5 ก.พ. 68 รณรงค์การคัดแยกขยะ recycle ในสถานศึกษา เขตองค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง 0 39,875.00 - -
4 ส่งเสริมสุขภาพด้วยการสนับสนุนอุปกรณ์เพื่อป้องกันการสัมผัสขยะโดยตรง สำหรับเจ้าหน้าที่คัดแยกขยะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 6,400.00 0 0.00 6,400.00
5 ก.พ. 68 ส่งเสริมสุขภาพด้วยการสนับสนุนอุปกรณ์เพื่อป้องกันการสัมผัสขยะโดยตรง สำหรับเจ้าหน้าที่คัดแยกขยะ 0 6,400.00 - -
5 ติดตาม ประเมินสุขภาพตามความเสี่ยงของเจ้าหน้าที่ที่คัดแยกขยะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 10,500.00 0 0.00 10,500.00
5 ก.พ. 68 ติดตาม ประเมินสุขภาพตามความเสี่ยงของเจ้าหน้าที่ที่คัดแยกขยะ 0 10,500.00 - -
6 สรุปถอดบทเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 500.00 0 0.00 500.00
5 ก.พ. 68 สรุปถอดบทเรียน 0 500.00 - -
รวมทั้งสิ้น 0 71,675.00 0 0.00 71,675.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนสามารถคัดแยกขยะได้ถูกต้อง 2.ชุมชนเห็นความสำคัญของขยะรีไซเคิล 3.แต่ละชุมชนมีธนาคารขยะของชุมชน โดยชุมชนจัดการขยะด้วยตนเอง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2568 15:53 น.