โครงการควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลมะนังยง ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลมะนังยง ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3046-04-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง |
วันที่อนุมัติ | 30 กันยายน 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 32,525.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวซาลีขอ สะระดล |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.813,101.402place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกปีที่ผ่านมา(ต่อแสนประชากร) | 34.50 | ||
2 | อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกปีที่ผ่านมา(ร้อยละ) | 0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากและยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศ สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดออกยังคงคุกคามชีวิตประชาชนชาวไทยคือการที่ประชาชนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของโรคไข้เลือดออก และการไม่มีพฤติกรรมตื่นตัวร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อันอาจมีสาเหตุเนื่องมาจากการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุมถึงทุกครัวเรือนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและวิธีปฏิบัติตนให้แก่ประชาชนในการรณรงค์การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น งานสาธารณสุข อบต.มะนังยง จึงได้จัดทำโครงการ ควบคุม และ ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลมะนังยง ปี 2568 ขึ้น เพื่อควบคุมการระบาดโรคในพื้นที่ต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การทำลายแหล่งเพาะพันธู์ลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค ประชาชนในพื้นที่ มีวิธีการป้องกันลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคโรคไข้เลือดออก อย่างถูกวิธี ร้อยละ 80 |
0.00 | |
2 | เพื่อควบคุมการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก(รายที่ 2 หลังจากวินิจฉัยโรค ภายในรัศมี 100 เมตร) ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
7 ก.พ. 68 | ประชุมวางแผนการดำเนินงาน | 0 | 1,125.00 | - | ||
7 ก.พ. 68 | ดำเนินการควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ ที่มีการระบาดของโรค | 0 | 30,400.00 | - | ||
7 ก.พ. 68 | ค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกเมื่อเกิดโรคระบาด | 0 | 375.00 | - | ||
รวม | 0 | 31,900.00 | 0 | 0.00 |
1.พื้นที่ไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนสามารถควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ถูกต้อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2568 16:06 น.