กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันพิษภัยของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้าและรณรงค์ป้องกันยาเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68-L2506-01-010
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนตาดีกาบ้านกูตง หมู่3 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
วันที่อนุมัติ 28 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 31 พฤษภาคม 2568
งบประมาณ 44,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอัมรัน เด็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านกูตง ม.3 ตำบลบองอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 ก.พ. 2568 31 มี.ค. 2568 44,950.00
รวมงบประมาณ 44,950.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มผู้สูงอายุ 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาการสูบบุหรี่ไฟฟ้า โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรี่ไฟฟ้าเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม อย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ทำให้รัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมาก จากการวิจัยเชิงบรรยายมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาอัตราการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้นำศาสนาใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ และ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจเลิกสูบบุหรี่ของผู้น าศาสนาใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ จังหวัดละ 2 อำเภอ ในและนอกเขตเทศบาล ยกเว้นจังหวัดสงขลา มีหนึ่งอ าเภอ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 901 ราย เลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เป็นผู้น าศาสนาประจ ามัสยิดทั้งในและนอกเขตเทศบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยทางจิตสังคม และปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม เก็บข้อมูลระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2558 ถึง มกราคม 2559 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส าเร็จรูปโดยใช้สถิติพรรณนา ร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติไคว์สแควร์ หาระดับอิทธิพลระหว่างปัจจัยกับการความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ด้วย Logistic regression โดยก าหนดระดับนัยส าคัญของการวิเคราะห์ที่ .05 ผลการศึกษา พบว่า 1) ผู้น าศาสนาใน 5 จังหวัดชายแดนใต้ มีอัตราการสูบบุหรี่ ร้อยละ 61.5 จังหวัดนราธิวาส มีอัตราการสูบบุหรี่ ร้อยละ 75.1 จังหวัดยะลา ร้อยละ 69.9 จังหวัดสตูล ร้อยละ 55.5 จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 40.2และจังหวัดสงขลา ร้อยละ 24.4 2) ความตั้งใจเลิกสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับระดับการศึกษา ลักษณะงานที่ท า รายได้เฉลี่ยต่อเดือนเขตการปกครอง บทบาททางศาสนา และการรับรู้ภาวะทางสุขภาพตนเอง อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจเลิกสูบบุหรี่ ได้แก่ บทบาททางศาสนา 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า เพื่อสนับสนุนการเลิกบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของยาเสพติด เพื่อสนับสนุนการป้องกันยาเสพติดและไม่ยุ่ง เกี่ยวกับอบายมุข 3. สร้างความตระหนักแก่เยาวชนและประชาชน ในการป้องกันยาเสพติด และการห้ามปรามจากอบายมุข ตามหลักการศาสนาอิสลาม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า เพื่อสนับสนุนการเลิกบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า

ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า เพื่อสนับสนุนการเลิกบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า

200.00 200.00
2 2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของยาเสพติด เพื่อสนับสนุนการป้องกันยาเสพติดและไม่ยุ่ง เกี่ยวกับอบายมุข

ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของยาเสพติด เพื่อสนับสนุนการป้องกันยาเสพติดและไม่ยุ่ง เกี่ยวกับอบายมุข

200.00 200.00
3 3. สร้างความตระหนักแก่นักเรียนและเยาวชน ในการป้องกันยาเสพติด และการห้ามปรามจากอบายมุข ตามหลักการศาสนาอิสลาม

นักเรียนและเยาวชนมีความตระหนักในการป้องกันยาเสพติด และการห้ามปรามจากอบายมุข ตามหลักการศาสนาอิสลาม

200.00 200.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 44,950.00 0 0.00
1 - 31 พ.ค. 68 1.เตรียมความพร้อมการจัดโครงการฯ 0 0.00 -
1 - 30 มิ.ย. 68 2.จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 รุ่น 0 44,950.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า 2.ผู้เข้าอบรมมีความรู้เรื่องพิษภัยของยาเสพติด การป้องกันยาเสพติดและไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข 3.สร้างความตระหนักแก่เยาวชนและประชาชน ในการป้องกันยาเสพติด และห้ามปรามลูกหลานให้ห่างไกลจากอบายมุขต่างๆตามหลักการศาสนาอิสลาม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2568 00:00 น.