โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนต้นไม้สูง ปีงบประมาณพ.ศ.2568
ชื่อโครงการ | โครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนต้นไม้สูง ปีงบประมาณพ.ศ.2568 |
รหัสโครงการ | 68-L8369-02-020 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะกรรมการชุมชนต้นไม้สูง |
วันที่อนุมัติ | 4 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 13,450.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | คณะกรรมการชุมชนต้นไม้สูง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19เริ่มมีการผ่อนคลายมาตรการของโรคโควิด-19 ให้ประชาชนสามารถเดินทางและไปทำกิจกรรมในสถานที่สาธารณะได้มากขึ้น จึงมีความเสี่ยงที่อุบัติการณ์ของโรคไข้เลือดออกจะสูงขึ้น และทำให้เกิดการระบาดต่อเนื่องตลอดปี พ.ศ.2567 หากไม่ได้มีการป้องกันโรคแต่เนิ่นๆดังนั้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดในวงกว้างและลดความรุนแรงของโรคในช่วงก่อนฤดูกาลระบาด เป็นการลดจำนวนป่วย และนำไปสู่การเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนพัฒนาการได้เห็นความสำคัญในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในชุมชนต้นไม้สูง
ปีงบประมาณพ.ศ.2568
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100 |
50.00 | 50.00 |
2 | เพื่อให้ประชาชนมีจิตสำนึกและปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย ประชาชนมีจิตสำนึกและปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอย ร้อยละ 100 |
50.00 | 50.00 |
3 | อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0 |
0.00 | 0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 13,450.00 | 0 | 0.00 | |
1 มี.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 | กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ | 0 | 8,250.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 | กิจกรรมจัดอบรมเชิงปฏิบัติ | 0 | 5,200.00 | - |
1.ประชาชนสามารถทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง 2.สามารถควบคุมค่าความชุกของลูกน้ำยุงลาย โดยมีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI น้อยกว่า 10 3. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2567 00:00 น.