กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทีมผู้ก่อการดี โรงพยาบาลตะโหมด ปี 2568 ”




หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย สว่างวัน




ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทีมผู้ก่อการดี โรงพยาบาลตะโหมด ปี 2568

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L7575-01-06 เลขที่ข้อตกลง 6/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 พฤษภาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทีมผู้ก่อการดี โรงพยาบาลตะโหมด ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทีมผู้ก่อการดี โรงพยาบาลตะโหมด ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทีมผู้ก่อการดี โรงพยาบาลตะโหมด ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L7575-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจมน้ำ ถือเป็นสาเหตุการเสียชีวิตเป็นอันดับหนึ่ง ในเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึง 904 คน ต่อปี หรือวันละ 2.5 คน และในช่วงเดือน มีนาคม - พฤษภาคม เป็นเดือนที่เด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด เพราะตรงกับช่วงปิดเทอมและอยู่ในฤดูร้อนในปี 2566 ประเทศไทยพบรายงานผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำทุกกลุ่มอายุ 891 รายในจำนวนนี้เป็นกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 287 ราย สำหรับสถานการณ์ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 (จังหวัดสงขลา พัทลุง ยะลานราธิวาส) มีรายงานอุบัติการณ์ทั้งสิ้น 49 เหตุการณ์ เสียชีวิตทุกกลุ่มอายุ 57 ราย พบเป็นกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี 27 ราย สถานที่เกิดเหตุส่วนใหญ่เป็นแหล่งน้ำตามธรรมชาติ ได้แก่สระน้ำ ฝาย คลอง หนองน้ำ อ่างเก็บน้ำ บ่อน้ำ ช่วงเวลาที่เกิดเหตุสูงสุดคือช่วง 9 โมงเช้า ถึง 5 โมงเย็น จากข้อมูลปี 2561-2567 พบว่าผู้เสียชีวิตหรือบาดเจ็บจากการจมนำส่วนใหญ่ เกิดเหตุในช่วงปิดเทอมฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ช่วงฤดูน้ำหลากเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม และช่วงปิดเทอมฤดูหนาว เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มักเกิดจากพฤติกรรมการลงเล่นน้ำ หรือพลัดตกลงไปในแหล่งน้ำแล้วขาดทักษะในการว่ายน้ำและการเอาชีวิตรอด ผู้เสียชีวิตไม่สวมใส่เสื้อชูชีพหรือ อุปกรณ์ช่วยลอยตัว ขาดการดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครอง แหล่งน้ำที่เป็นแหล่งเสี่ยงตามธรรมชาติที่อยู่ในชุมชน ส่วนใหญ่ไม่มีการจัดการให้เกิดความปลอดภัย เช่น การกั้นรั้ว การปักป้ายเตือน การติดตั้งอุปกรณ์ช่วยเหลือฉุกเฉิน ขาดทักษะในการช่วยชีวิตที่ถูกต้อง อักทั้งการ ช่วยเหลือผู้ประสบเหตุล่าช้า ดังนั้น กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลตะโหมด จึงได้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการที่มผู้ก่อการดีโรงพยาบาลตะโหมด เพื่อสร้างแกนนำผู้ก่อการดี โดยมุ่งหวังเพื่อให้นำความรู้และทักษะจากการอบรม นำไปถ่ายทอดและให้การช่วยเหลือตนเองและบุคคลอื่นเมื่อเกิดการประสบภัยทางน้ำ โดยมีทักษะในการลอยตัวในน้ำ ทักษะการตะโกน โยน ยื่น การช่วยชีวิตเบื้องต้น สร้างความเข้มแข็งในการป้องกันการจมน้ำในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างแกนนำผู้ก่อการดีในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี
  2. เพื่อสร้างความรู้และทักษะการช่วยชีวิตจากการจมน้ำ สามารถ ช่วยเหลือตนเองและผู้ประสบภัยจากการจมทางน้ำได้และสามารถ ถ่ายทอดทักษะดังกล่าวแก่ประชาชนทั่วไปได้
  3. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำทุกมาตรการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วิธีดำเนินการ
  2. กิจกรรม
  3. 3. ขั้นสรุปผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เทศบาลแม่ขรีมีแกนนำทีมผู้ก่อการดี

2.ผู้เข้าร่วมอบรมความรู้และทักษะการช่วยชีวิตจากการจมน้ำ สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้ประสบภัยจากการจมทางน้ำได้และสามารถ ถ่ายทอดทักษะดังกล่าวแก่ประชาชนทั่วไปได้ ร้อยละ 80

3.ที่มผู้ก่อการดีระดับทอง ส่งประกวดในระดับประเทศ ในปี 2569


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างแกนนำผู้ก่อการดีในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี
ตัวชี้วัด : มีแกนนำที่มผู้ก่อการดีเทศบาลแม่ขรี
0.00

 

2 เพื่อสร้างความรู้และทักษะการช่วยชีวิตจากการจมน้ำ สามารถ ช่วยเหลือตนเองและผู้ประสบภัยจากการจมทางน้ำได้และสามารถ ถ่ายทอดทักษะดังกล่าวแก่ประชาชนทั่วไปได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมความรู้และทักษะการช่วยชีวิตจากการจมน้ำสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้ประสบภัยจากการจมทางน้ำได้และสามารถถ่ายทอดทักษะดังกล่าวแก่ประชาชนทั่วไปได้ ร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำทุกมาตรการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ทีมผู้ก่อการดีระดับทอง ส่งประกวดในระดับประเทศ ในปี 2569
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำผู้ก่อการดีในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี (2) เพื่อสร้างความรู้และทักษะการช่วยชีวิตจากการจมน้ำ สามารถ ช่วยเหลือตนเองและผู้ประสบภัยจากการจมทางน้ำได้และสามารถ ถ่ายทอดทักษะดังกล่าวแก่ประชาชนทั่วไปได้ (3) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำทุกมาตรการในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วิธีดำเนินการ (2) กิจกรรม (3) 3. ขั้นสรุปผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทีมผู้ก่อการดี โรงพยาบาลตะโหมด ปี 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L7575-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชัย สว่างวัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด