กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลมหายใจสดชื่น ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ”
ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายยูสนิง หะมะ




ชื่อโครงการ โครงการลมหายใจสดชื่น ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4120-01-11 เลขที่ข้อตกลง 010/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 พฤษภาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลมหายใจสดชื่น ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลมหายใจสดชื่น ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลมหายใจสดชื่น ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4120-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยาดม คือ ยาสามัญประจำบ้านและเป็นยาใช้ภายนอก ใช้สำหรับสูดดม ภายในประกอบไปด้วยสารที่มีกลิ่น เช่น เมนทอล การบูร พิมเสน น้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพรต่าง ๆ โดยสรรพคุณหลักของยาดมคือ เพื่อบรรเทาอาการไม่พึงประสงค์ เช่น เป็นหวัด คัดจมูก วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด คล้ายจะเป็นลม ช่วยให้สดชื่น และผ่อนคลายยามร่างกายอ่อนล้าเป็นต้น
ปัจจุบันมีผู้สนใจและเห็นความสำคัญของสมุนไพรมากขึ้น เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากวัตถุดิบจากสมุนไพรธรรมชาติ พร้อมทั้งจำนวนผู้ที่รักสุขภาพในการใช้สมุนไพรเป็นแพทย์ทางเลือกมีปริมาณมากขึ้นทุกปี เมื่อเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ คล้ายจะเป็นลม หากต้องการบรรเทาอาการเหล่านั้น คนไทยเกิน 60% ไม่ได้นึกถึงยาพาราเซตามอล หรือตัวยาอื่นๆ แต่ทุกคนกลับนึกถึง “ยาดม” ที่ดมเมื่อไหร่ก็ชื่นใจ แถมอาการปวดหัวหรือความมึนงงต่างๆดีขึ้น และสำหรับบางคน ยาดม นับเป็นไอเท็มยอดฮิตที่ต้องมีติดกระเป๋า ที่หยิบขึ้นมาดมเมื่อไหร่ก็ชื่นใจเมื่อนั้น โดยใช้สมุนไพรที่หาได้ในท้องถิ่นไว้ดูแลตนเอง ซึ่งสมุนไพรในท้องถิ่นมีเป็นจำนวนมากและไม่ได้มีการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหรเล็งเห็นถึงความสำคัญและคุณค่าของสมุนไพรในท้องถิ่น จึงมีการจัดทำยาดมสมุนไพร นอกจากนี้ ยังช่วยส่งเสริมให้คนในชุมชนมองเห็นคุณค่าของสมุนไพรไทยที่มีอยู่มากมายในท้องถิ่นของตนเอง ซึ่งยาดมจัดอยู่ในประเภทเป็นยาสมุนไพรประจำบ้าน และยังเสริมสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน โดยถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับคนในชุมชนถึงกระบวนการทำและความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรที่นำมาใช้ทำยาดม และสามารถนำไปประกอบเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมได้ ถือว่าเป็นการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจให้ชุมชนมีรายได้ได้เป็นอย่างดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสรรพคุณสมุนไพรใกล้ตัว
  2. เพื่อให้คนในชุมชน ตระหนักถึงความสำคัญของสมุนไพรและนำ สมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิตวิธีการทำยาดมสมุนไพรและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ สรรพคุณของของยาดมและสมุนไพรที่นำมาใช้ 2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้การทำยาดมสมุนไพรไว้ใช้เป็นยาสามัญประจำบ้าน ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เบื้องต้น และสามารถนำไปประกอบอาชีพได้ 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรใกล้ตัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสรรพคุณสมุนไพรใกล้ตัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละความรู้ความเข้าใจของคนในชุมชมเกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว
80.00

 

2 เพื่อให้คนในชุมชน ตระหนักถึงความสำคัญของสมุนไพรและนำ สมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนเห็นคุณค่าผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทย สามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสรรพคุณสมุนไพรใกล้ตัว (2) เพื่อให้คนในชุมชน ตระหนักถึงความสำคัญของสมุนไพรและนำ  สมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิตวิธีการทำยาดมสมุนไพรและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลมหายใจสดชื่น ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4120-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยูสนิง หะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด