โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา
ชื่อโครงการ | โครงการนักเรียนวัยใส อนามัยดี ไม่มีเหา |
รหัสโครงการ | 68-L1512-02-15 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนวัดเขาพระ |
วันที่อนุมัติ | 31 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 8,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายกิตติศักดิ์ ชุมใหม่ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองปาง อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.987,99.645place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 พ.ค. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 8,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 8,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากใน กลุ่ม นักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงมัธยมศึกษาตอนต้น โดยพบว่ามีนักเรียนติดเหาประมาณ 80-90 % ซึ่งโรคเหานับเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไป นอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเหาจากการมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำโดย ใช้ยาเพื่อฆ่าเหาซึ่งยามีทั้งในรูปครีมเจล หรือโลชั่น ซึ่งวิธีการรักษาเหาในรูปแบบดังกล่าวเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน ดังนั้น โรงเรียนวัดเขาพระ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียนที่เป็นโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อกำจัดเหานักเรียนในโรงเรียนวัดเขาพระ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเหาและการดูแลรักษาสุขอนามัยของนักเรียน ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนที่มีเหา ได้รับการกำจัดเหา |
||
2 | เพื่อรักษา ป้องกัน และแก้ไขการแพร่ระบาดของโรคเหาในนักเรียน ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนที่มีเหาได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเหา และการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย |
||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีบุคลิกภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
|
เด็กนักเรียนได้รับความรู้เรื่องโรคเหาและการดูแลรักษาด้วยตนเอง ลดการระบาดของโรคเหาในโรงเรียน เด็กนักเรียนสามารถดูแลสุขภาพร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2568 16:06 น.