โครงการเด็กวัยเรียนสดใสลดการบูลลี่ สุขภาพจิตดีป้องกันซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเด็กวัยเรียนสดใสลดการบูลลี่ สุขภาพจิตดีป้องกันซึมเศร้า ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L2979-02-07 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านเกาะตา |
วันที่อนุมัติ | 19 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 14,930.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางจินดา พิทักษ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | โรงเรียนบ้านเกาะตา ได้เล็งเห็นความสำคัญในการรับมืออย่างไรจากการถูกบูลลี่ การป้องกันและค้นหาผู้ที่เสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคซึมเศร้า (ร้อยละ 80) | 80.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันการถูกบูลลี่และปัญหาโรคซึมเศร้า สร้างความทุกข์ใจให้กับผู้ที่ถูกบูลลี่และผู้ป่วยเป็นอย่างมาก เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะทำให้หมดกำลังใจ ท้อแท้ในชีวิต ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนและการทำงานลดลง อย่างชัดเจน ปัญหาภาวะซึมเศร้าจากการถูกบูลลี่ในเด็กเป็นปัญหาทางด้านสุขภาพจิตที่สำคัญของประเทศที่ส่งผลกระทบต่อตัวเด็ก ครอบครัวและสังคม
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการรับมือจากการถูกบูลลี่การป้องกันภาวะซึมเศร้าและกลุ่มเสี่ยงในกลุ่มเด็ก นักเรียนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อรับมือจากการถูกบูลลี่และป้องกันโรคเครียดและซึมเศร้าได้ |
0.00 | |
2 | เพื่อเพิ่มความรู้สึกคุณค่าในตนเองและดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข นักเรียนให้ความสำคัญและรู้สึกมีค่ากับตนเองสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติ |
0.00 | |
3 | เพื่อให้นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาพเบื้องต้น นักเรียนได้รับบริการตรวจสุขภาพในเบื้องต้น |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 14,930.00 | 0 | 0.00 | |
3 - 31 มี.ค. 68 | อบรมเชิงปฏิบัติการ | 0 | 14,930.00 | - |
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบลูลี่และโรคซึมเศร้าได้มากขึ้น
- นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อรับมือจาการถูกบูลลี่และการป้องกันโรคซึมเศร้าได้
- นักเรียนได้รับการบริการด้านสุขภาพที่ดีขึ้นและลดภาวะโรคซึมเศร้าได้น้อยลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.พ. 2568 00:00 น.