โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง ”
ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีฮาน เจ๊ะฮะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง
ที่อยู่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3071-3-1 เลขที่ข้อตกลง 5/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3071-3-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ระบบต่างๆ ในร่างกายย่อมเสื่อมลงตามธรรมชาติอวัยวะควบคุม การทรงตัวที่หูเสื่อมตั้งแต่ระดับหูชั้นในไปจนถึงสมอง การมองเห็นลดลงทั้งด้านความชัดเจน การกะระยะความลึก และการมองในที่สลัว ประสาทสัมผัสและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกับข้อต่อต่างๆ ลดลง นอกจากนี้ผู้สูงอายุจำนวนมากยังมีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคทางสมอง โรคเบาหวานที่ทำให้เกิดโรคเส้นประสาท (neuropathy) ฯลฯ อีกทั้งผู้สูงอายุมักใช้ยาหลายชนิดเพื่อ รักษาโรคประจำตัวต่างๆเช่น ยาขยายหลอดเลือดยาลดระดับน้ำตาลในเลือดยาขับปัสสาวะยานอนหลับ เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อการควบคุมการทรงตัว ของร่างกายและทำให้เกิดอาการมึนงง เวียนศีรษะ ซึ่งการแพทย์พื้นบ้านใช้พืชพรรณสมุนไพรมาใช้เป็นยารักษาโรคเมื่อเกิดอาการเจ็บป่วย เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมา ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ระบุถึงการใช้พืชพรรณสมุนไพรตั้งแต่สมัยพุทธกาล การนำพืชสมุนไพรมาใช้ทำเป็นยาดม จึงเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่สามารถใช้ บรรเทาอาการมึนงง เวียนศีรษะ เบื้องต้นในผู้สูงอายุได้ การใช้ยาดมสมุนไพรเป็นการทำให้ร่างกายได้รับน้ำมันหอมระเหย รวมทั้งสารสำคัญที่ทำให้ร่างกายผ่อนคลาย สดชื่นอีกทั้งยังบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะหรือว่าลดอาการหน้ามืดได้ ยาดมสมุนไพรถือว่าเป็นยาที่จัดอยู่ในประเภทเป็นยาสมุนไพรประจำบ้านใช้สูดดม บรรเทาอาการวิงเวียนหน้ามืด ตาลาย เป็นหวัด คัดจมูก ซึ่งมีวิธีทำที่ง่าย หาสมุนไพรได้สะดวก สามารถทำไว้ใช้เองหรือเพื่อจำหน่ายเป็นรายได้เสริมได้ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีประวัติการรับประทานยาโรคเรื้อรังที่ต่อเนื่องหลายขนาน เป็นระยะเวลานาน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการปลูกผัก กรีดยาง ทำสวนผลไม้ ซึ่งอาชีพดังกล่าวต้องทำงานกลางแจ้งอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ร้อนอบอ้าว ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนอิริยาบถตามกิจกรรมของวิถีการดำรงชีวิตในแต่ละวันที่ไม่เหมาะสมตามวัย
ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อการควบคุมการทรงตัวของร่างกาย เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ หน้ามืดตาลาย ได้ง่าย ดังนั้น ทางชมรมแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ตำบลลิปะสะโง ได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ในการดูแลสุขภาพ มีการใช้ยาดมสมุนไพร ในการช่วยบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เบื้องต้น ก่อนไปพบแพทย์เพื่อตรวจร่างกายหาสาเหตุการเจ็บป่วย ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น
- เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในการนำสมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- อบรมให้ความรู้
- การทำยาดมสมุนไพร และประโยชน์ของยาดมสมุนไพร
- ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- การทำยาดมสมุนไพร และประโยชน์ของยาดมสมุนไพร
- ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนรอบข้างได้
- กลุ่มเป้าหมายสามารถนำภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยมาผลิตเป็นยาดมสมุนไพร ไว้ใช้เป็นยาสามัญประจำบ้าน ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เบื้องต้นได้ ก่อนไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุการเจ็บป่วยต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น
40.00
2
เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในการนำสมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการนำสมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
40.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น (2) เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในการนำสมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (2) อบรมให้ความรู้ (3) การทำยาดมสมุนไพร และประโยชน์ของยาดมสมุนไพร (4) ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (5) การทำยาดมสมุนไพร และประโยชน์ของยาดมสมุนไพร (6) ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3071-3-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรีฮาน เจ๊ะฮะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง ”
ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีฮาน เจ๊ะฮะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3071-3-1 เลขที่ข้อตกลง 5/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิปะสะโง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3071-3-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิปะสะโง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ระบบต่างๆ ในร่างกายย่อมเสื่อมลงตามธรรมชาติอวัยวะควบคุม การทรงตัวที่หูเสื่อมตั้งแต่ระดับหูชั้นในไปจนถึงสมอง การมองเห็นลดลงทั้งด้านความชัดเจน การกะระยะความลึก และการมองในที่สลัว ประสาทสัมผัสและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกับข้อต่อต่างๆ ลดลง นอกจากนี้ผู้สูงอายุจำนวนมากยังมีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคทางสมอง โรคเบาหวานที่ทำให้เกิดโรคเส้นประสาท (neuropathy) ฯลฯ อีกทั้งผู้สูงอายุมักใช้ยาหลายชนิดเพื่อ รักษาโรคประจำตัวต่างๆเช่น ยาขยายหลอดเลือดยาลดระดับน้ำตาลในเลือดยาขับปัสสาวะยานอนหลับ เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อการควบคุมการทรงตัว ของร่างกายและทำให้เกิดอาการมึนงง เวียนศีรษะ ซึ่งการแพทย์พื้นบ้านใช้พืชพรรณสมุนไพรมาใช้เป็นยารักษาโรคเมื่อเกิดอาการเจ็บป่วย เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมา ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ระบุถึงการใช้พืชพรรณสมุนไพรตั้งแต่สมัยพุทธกาล การนำพืชสมุนไพรมาใช้ทำเป็นยาดม จึงเป็นทางเลือกหนึ่ง ที่สามารถใช้ บรรเทาอาการมึนงง เวียนศีรษะ เบื้องต้นในผู้สูงอายุได้ การใช้ยาดมสมุนไพรเป็นการทำให้ร่างกายได้รับน้ำมันหอมระเหย รวมทั้งสารสำคัญที่ทำให้ร่างกายผ่อนคลาย สดชื่นอีกทั้งยังบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะหรือว่าลดอาการหน้ามืดได้ ยาดมสมุนไพรถือว่าเป็นยาที่จัดอยู่ในประเภทเป็นยาสมุนไพรประจำบ้านใช้สูดดม บรรเทาอาการวิงเวียนหน้ามืด ตาลาย เป็นหวัด คัดจมูก ซึ่งมีวิธีทำที่ง่าย หาสมุนไพรได้สะดวก สามารถทำไว้ใช้เองหรือเพื่อจำหน่ายเป็นรายได้เสริมได้ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีประวัติการรับประทานยาโรคเรื้อรังที่ต่อเนื่องหลายขนาน เป็นระยะเวลานาน ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีการปลูกผัก กรีดยาง ทำสวนผลไม้ ซึ่งอาชีพดังกล่าวต้องทำงานกลางแจ้งอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ร้อนอบอ้าว ผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนอิริยาบถตามกิจกรรมของวิถีการดำรงชีวิตในแต่ละวันที่ไม่เหมาะสมตามวัย
ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อการควบคุมการทรงตัวของร่างกาย เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ หน้ามืดตาลาย ได้ง่าย ดังนั้น ทางชมรมแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ตำบลลิปะสะโง ได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ในการดูแลสุขภาพ มีการใช้ยาดมสมุนไพร ในการช่วยบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เบื้องต้น ก่อนไปพบแพทย์เพื่อตรวจร่างกายหาสาเหตุการเจ็บป่วย ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น
- เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในการนำสมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- อบรมให้ความรู้
- การทำยาดมสมุนไพร และประโยชน์ของยาดมสมุนไพร
- ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- การทำยาดมสมุนไพร และประโยชน์ของยาดมสมุนไพร
- ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนำไปปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนรอบข้างได้
- กลุ่มเป้าหมายสามารถนำภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยมาผลิตเป็นยาดมสมุนไพร ไว้ใช้เป็นยาสามัญประจำบ้าน ในการดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว เบื้องต้นได้ ก่อนไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุการเจ็บป่วยต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น |
40.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในการนำสมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละของการนำสมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ |
40.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการบริการการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น (2) เพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในการนำสมุนไพรมาทำผลิตภัณฑ์ต่างๆไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (2) อบรมให้ความรู้ (3) การทำยาดมสมุนไพร และประโยชน์ของยาดมสมุนไพร (4) ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (5) การทำยาดมสมุนไพร และประโยชน์ของยาดมสมุนไพร (6) ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลลิปะสะโง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3071-3-1
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรีฮาน เจ๊ะฮะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......