กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาซีย๊ะ แวหะยี ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ




ชื่อโครงการ โครงการบ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4121-01-11 เลขที่ข้อตกลง 68-L4121-01-11

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4121-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 94,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแผนพัฒนาสาธารณสุขและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุขจังหวัดยะลา ได้กำหนดให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากร และไข้มาลาเรียไม่เกิน 300 ต่อแสนประชากร จากข้อมูลสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกของพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ตำบลแม่หวาดอำเภอธารโต จังหวัดยะลา ปี พ.ศ.2566 - 2568 จำนวน 8รายตามลำดับ และจากสถานการณ์ของโรคไข้มาลาเรียพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ในปี พ.ศ. 2566-2568 มีจำนวนผู้ป่วย และ6 ราย 142.86 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ(ข้อมูลจาก หน่วยควบคุมโรคนำโดยแมลงที่ 12.1.1ธารโต) จากการดำเนินงานพบว่าประชาชนมีพฤติกรรมในการป้องกัน ควบคุมโรคที่ไม่ถูกต้อง และขาดความต่อเนื่อง จึงต้องทำการควบคุมโรคให้มีประสิทธิภาพ ให้ประชาชนเกิดความตระหนัก มีส่วนร่วมกิจกรรมในการป้องกันควบคุมโรคโดยชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการดำเนินงานอีกทั้งเป็นผู้ดำเนินงาน ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระป๋อง ตำบลแม่หวาด อำเภอ ธารโต จังหวัดยะลา เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการ “บ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรีย” ขึ้นเพื่อสร้างชุมชนเข้มแข็งต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาด โรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออกของประชาชน
  3. 3. สร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนในการรณรงค์ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย และสถานที่ทำงานให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องตลอดปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม บ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก
  2. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้มาเลเรียและไข้เลือดออกและมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องไม่ให้เกิดโรคไข้โรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก
  2. ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนมีความร่วมมือร่วมใจในการรณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยและสถานที่ทำงานให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
  3. ลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  4. ลดอัตราป่วยและการระบาดของโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก ในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาด โรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออกของประชาชน
ตัวชี้วัด :

 

3 3. สร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนในการรณรงค์ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย และสถานที่ทำงานให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องตลอดปี
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากโรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาด โรคไข้มาลาเรียและไข้เลือดออกของประชาชน (3) 3.  สร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนในการรณรงค์ ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัย และสถานที่ทำงานให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องตลอดปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม บ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านกระป๋องร่วมใจ ป้องกัน ควบคุมไข้มาลาเรียและไข้เลือดออก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4121-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาซีย๊ะ แวหะยี ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด