กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง ต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวไซนับ บินมะยะโกะ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง ต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2475-01-09 เลขที่ข้อตกลง 18/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง ต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง ต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง ต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2475-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพที่ดีเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดความสุข และส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะคำว่าสุขภาพมีความหมาย คือ สภาวะแห่งความสุขสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมด้วยดี ซึ่งจะต้องปฏิบัติควบคู่กันไปอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะการออกกำลังกายที่ได้รับความนิยมกันอย่างแพร่หลายในการสร้างเสริมสุขภาพ ซึ่งการออกกำลังกายก็จะมีหลากหลายรูปแบบ และวิธีการแตกต่างกันออกไป และจากสภาวะปัจจุบัน พบว่าประชาชนในสังคมส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาทางด้านสุขภาพ อันเนื่องมาจากปัญหาทางด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ โรคระบาด หรือพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัว เช่นนิยมบริโภคอาหารจานเดียว อาหารฟาสต์ฟู้ด (Fast food) เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ดังนั้นการออกกำลังกายจึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม และสามารถผ่อนคลายความเครียดได้ในทุกเพศทุกวัย กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตไม่น้อยกว่า 36 ล้านคนทั่วโลกในแต่ละปี หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 63 ของสาเหตุการตายทั้งหมด คาดประมาณความสูญเสียทางเศรษฐกิจในช่วง 15 ปีข้างหน้า ประมาณ 7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ สำหรับประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังถึงร้อยละ 75 หรือประมาณ 320,000 คนต่อปี เฉลี่ยชั่วโมงละ 37 คน อันดับหนึ่ง คือโรคหลอดเลือดสมองคิดเป็นร้อยละ 4.59 หรือประมาณ 28,000 คน รองลงมาคือโรคหัวใจขาดเลือด โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ตามลำดับ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ โดยมีแนวโน้มการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ส่วนมากเป็นกลุ่มประชากรวัยทำงาน ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
จากผลการคัดกรองประชากรประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปทั้งหมด ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูมุง ในปี 2567 จำนวน 1,330 คน พบประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง จำนวน  120 คน ร้อยละ 9.02 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน  49  คน ร้อยละ 3.68 พบผู้ป่วยเบาหวานใหม่จำนวน 2 คน ร้อยละ 4.08 และพบผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 8 คน  ร้อยละ 6.66 ซึ่งผลการคัดกรองและการค้นพบผู้ป่วยใหม่ของประชากรดังกล่าวถือว่าเป็นปัญหาที่ควรได้รับการป้องกันและแก้ไขอย่างเร่งด่วน ซึ่งประชากรกลุ่มเสี่ยงทั้ง 2 กลุ่ม ถ้าขาดความรู้และทักษะในการป้องกันโรคสามารถพัฒนามาเป็นผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงต่อไปได้ในอนาคต เพื่อเป็นการป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ป่วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกูมุง เล็งเห็นว่าการดำเนินงานเน้นการป้องกันไม่ให้เกิดโรคสำคัญที่สุด โดยนำกิจกรรมเน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักรวมทั้งจัดกิจกรรมเพื่อสร้างกระแสด้านการส่งเสริมสุขภาพ  และการปฏิบัติที่ละเว้นปัจจัยเสี่ยง โดยเน้นการใช้หลัก 3 อ 2 ส เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ตลอดจนการนำกิจกรรมการออกกำลังกายง่ายๆ ด้วยการเดิน วิ่ง  มาสร้างกระแสรวมพลังให้ประชาชนให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินชีวิตประจำวันเพื่อการมีสุขภาพดีของครอบครัวและชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อคัดกรองวินิจฉัยโรคเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ถึงเกณฑ์ที่กำหนด
  3. เพื่อคัดกรองวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ถึงเกณฑ์ที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเดินวิ่งสร้างกระแสการออกกำลังกายในชุมชนเพื่อป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 2.เพื่อคัดกรองวินิจฉัยโรคเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ถึงเกณฑ์ร้อยละ 80 3.เพื่อคัดกรองวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ถึงเกณฑ์ร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ทำแบบทดสอบความรู้หลังการอบรมผ่านมากกว่าร้อยละ 50
50.00

 

2 เพื่อคัดกรองวินิจฉัยโรคเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ถึงเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : คัดกรองวินิจฉัยโรคเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

3 เพื่อคัดกรองวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ถึงเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : คัดกรองวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 135
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (2) เพื่อคัดกรองวินิจฉัยโรคเบาหวานประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ถึงเกณฑ์ที่กำหนด (3) เพื่อคัดกรองวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ให้ถึงเกณฑ์ที่กำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเดินวิ่งสร้างกระแสการออกกำลังกายในชุมชนเพื่อป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยง ต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2475-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวไซนับ บินมะยะโกะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด