กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านสุขภาพ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมพร ตันธิวุฒ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านสุขภาพ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2979-02-02 เลขที่ข้อตกลง 68-L2979-02-02

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านสุขภาพ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านสุขภาพ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านสุขภาพ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพลา อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2979-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงเป็นโรคติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ และถือว่าเป็น "ภัยเงียบ"เพราะเป็นโรคที่ไม่ปรากฏอาการ และเป็นสาเหตุของโรคแทรกซ้อนในอวัยวะสำคัญหลายระบบของร่างกาย เช่น ตา ไต หลอดเลือด ในประเทศไทยนั้น อุบัติการณ์โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง และยาวนาน มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูงมาก ในการดำเนินงานส่งเสริม ป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ใช้เครือข่ายแกนนำด้านสุขภาพคืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเนื่องจากอสม.เป็นบุคคลที่อยู่ในพื้นที่ ใกล้ชิดกับประชาชน สามารถดูแลสุขภาพ คัดกรองอาการเบื้องต้นของประชาชนได้ ก่อนที่จะประสาน หรือส่งต่อมา รพสต. การทำงานจะประสบความสำเร็จและมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนได้จำเป็นอย่างยิ่งต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง และใช้กระบวนการแบบบูรณาการเชื่อมโยงการดำเนินงาน ความรู้และแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงแนวใหม่ที่มีปรับปรุงตามสถานการณ์ของโรค รวมถึงมีการสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในส่งเสริมสุขภาพ คัดกรองสขภาพ ให้มีจำนวนเพียงพอกับเครือข่ายและกลุ่มเป้าหมาย จากสถิติข้อมูลจากHDCกระทรวงสาธารณสุข ปี 2566,2567ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ 33, 53 รายผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จำนวน 18, 19 รายผู้ป่วยเบาหวานที่คุมน้ำตาลได้ดี ร้อยละ 16.61 , 23.93 ตามลำดับ ผู้ป่วยเบาหวานที่คุมความดันได้ดี ร้อยละ 30.94 , 58.37 ตามลำดับ มีภาวะแทรกซ้อนทางตา จำนวน 6,7 รายตามลำดับ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่ากลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีจำนวนเพิ่มขึ้น ความดันโลหิตสูงและน้ำตาลเลือดไม่สามารถควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ การดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ป้องกันโรคที่ปัญหาที่สำคัญของพื้นที่และเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งพลา จึงได้จัดทำโครงการอบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านสุขภาพ(อสม.)เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงปี 2568 ขึ้นและได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลทุ่งพลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เครือข่ายอสม. เข้ารับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้อสม. มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. อสม. คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้
  4. กลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามเป็นระบบ
  5. อสม. สามารถปรับพฤติกรรม ควบคุมระดับความดันโลหิต น้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด และประเมินกลุ่มแทรกซ้อนให้รีบมาพบเจ้าหน้าที่หรือแพทย์ได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. สำรวจและติดตามกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อสม. เขตรับผิดชอบ รพ.สต.ทุ่งพลา จำนวน 5 หมู่ 72

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.ทุกคนได้รับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. อสม.ที่รับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้เพิ่มขึ้น
  3. อสมสามารถคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
  4. กลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม ส่งต่ออย่างเป็นระบบจากอสม.
  5. อสม.ทุกคนที่รับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและควบคุมระดับน้ำตาล ความดันโลหิตให้อยู่เกณฑ์ที่กำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เครือข่ายอสม. เข้ารับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเครือข่ายอสม. เข้ารับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
0.00 90.00

 

2 เพื่อให้อสม. มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : อสม. มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น
0.00 90.00

 

3 อสม. คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
0.00 90.00

 

4 กลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามเป็นระบบ
0.00 90.00

 

5 อสม. สามารถปรับพฤติกรรม ควบคุมระดับความดันโลหิต น้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด และประเมินกลุ่มแทรกซ้อนให้รีบมาพบเจ้าหน้าที่หรือแพทย์ได้
ตัวชี้วัด : อสม. สามารถปรับพฤติกรรมตนเอง ควบคุมระดับความดันโลหิตและน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อสม. เขตรับผิดชอบ รพ.สต.ทุ่งพลา จำนวน 5 หมู่ 72

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เครือข่ายอสม. เข้ารับการอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้อสม. มีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) อสม. คัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้ (4) กลุ่มเสี่ยงสงสัยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามเป็นระบบ (5) อสม. สามารถปรับพฤติกรรม ควบคุมระดับความดันโลหิต น้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด และประเมินกลุ่มแทรกซ้อนให้รีบมาพบเจ้าหน้าที่หรือแพทย์ได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) สำรวจและติดตามกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมฟื้นฟูความรู้แกนนำด้านสุขภาพ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2979-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสมพร ตันธิวุฒ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด