กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสุดา นิยมเดชา




ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5273-1-6 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 15 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5273-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 15 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย จึงเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากร เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน และมีสุขภาพแข็งแรง โดยเริ่มตั้งแต่ระยตั้งครรภ์จนถึงเด็กอายุ 2 ปี เนื่องจากเป็นช่วงที่สมองมีการพัฒนาสูงสุดทั้งการสร้างเซลล์สมองและการเชื่อมโยงเซลล์สมองกับโครงขายเส้นใยประสาท ทำให้เด็กมีความสามารถในการเรียนรู้จดจำ และการเจริญเติบโตด้านร่างกายอย่างรวดเร็ว ผลการดำเนินงานคุณภาพด้านแม่และเด็ก ของ รพ.สต.ฉลุง จาก HDC ในปี 2567 พบประเด็นเกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก คือ 1. การฝากครรภ์ครั้งแรก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 89.39 2.การฝากครรภ์ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 81.82 3.หญิงหลังคลอดได้รับการดูแล 3 ครั้ง ร้อยละ 84.52 4.โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ร้อยละ 23.21 5.เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2500 กรัม ร้อยละ 3.70 6.เด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่ อย่างเดียว ร้อยละ 63.33 7.เด็กปฐมวัยเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วนร้อยละ 75.10 8.คัดกรองพัฒนาเด็กตามกลุ่มอายุร้อยละ 83.24  9.เเ็กมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 95.85 จากสถานการณ์ดังกล่าว พบว่างานพัฒนาอนามัยแม่และเด็กเป็นงานที่สำคัญที่จะทำให้เด็กเติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ โดยจะต้องมีกระบวนการดูแลพ่อแม่ตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์ และการดูแลในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อส่งผลให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย และเด็กมีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วน และจำเป็นต้องมีกระบวนการบูรณาการ เพื่อเป้าหมายเด็กไทยแข็งแรง เก่งดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้  ตามแนวทางการพัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน เป้นฐานการแก้ปัญหา เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา โดยการมีส่วนร่วมของ อปท. ชุมชนและครอบครัว ภาคีเครือข่าย และใช้กระบวนการสร้างความรอบรู้ให้กับมารดา รวมถึงภาคีเครือข่ายและคณะกรรมการพัฒนาครอบครัวระดับชุมชน จึงได้จัดทำโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต รพ.สต.ฉลุง เพื่อพัฒนาอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัย เพื่อแม่เกิดรอดลูกปลอดเภัย และเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาดีสมส่วนและมีพัฒนาการรครบทั้ง 4 ด้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูและแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
  2. ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย
  3. ข้อ 3.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารดดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  4. ข้อ 4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมคณะทำงาน
  2. กิจกรรมอบรมฟื้นฟู
  3. กิจกรรมประชาสัมพันธ์
  4. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก
  5. กิจกรรมติดตามประเมินผล
  6. จัดอบรมคณะทำงานฯ
  7. อบรมฟื้นฟูการพัฒนาศักยภาพด้านพัฒนาการเด็ก
  8. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  9. ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก
  10. ประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เครื่อข่ายชุมชนตำบลฉลุงเป็นส่วนหนึ่งและมีส่วนร่วในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารก ในการดำนเินงานกิจกรรมตามโครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูและแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 และได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75

 

2 ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ 14 และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7

 

3 ข้อ 3.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารดดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 เด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่ อย่างเดียวร้อยละ 50

 

4 ข้อ 4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 , เด็ก 9 18 30 และ 42 60 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 และเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก  หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูและแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ (2) ข้อ 2.เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย (3) ข้อ 3.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์  มารดาหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารดดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (4) ข้อ 4.เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์  ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมคณะทำงาน (2) กิจกรรมอบรมฟื้นฟู (3) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ (4) กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (5) กิจกรรมติดตามประเมินผล (6) จัดอบรมคณะทำงานฯ (7) อบรมฟื้นฟูการพัฒนาศักยภาพด้านพัฒนาการเด็ก (8) ประชาสัมพันธ์โครงการ (9) ส่งเสริมโภชนาการแม่และเด็ก (10) ประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5273-1-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดา นิยมเดชา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด