โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในเขตเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในเขตเทศบาลตำบลอ่าวพะยูน ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3337-01-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลปากพะยูน |
วันที่อนุมัติ | 24 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 30 พฤษภาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 มิถุนายน 2568 |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายพิพัฒน์ พิพัฒน์รัตนเสรี |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายกำพล เศรษฐสุข |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปากพะยูน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็ง โรคถุงลมโป่งพอง โรคอ้วนลงพุง ซึ่งเป็นโรคที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรค และไม่สามารถแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้ ส่วนใหญ่แล้วเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม การบริโภคอาหารรสหวานจัด เค็มจัด อาหารที่มีไขมันสูง ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ไม่ออกกำลังกาย พักผ่อนไม่เพียงพอ และมีความเครียด ซึ่งโรคในกลุ่มนี้จะมีการดำเนินโรคอย่างช้าๆ คือ ค่อยๆ สะสมอาการทีละนิดโดยผู้ป่วยไม่รู้ตัว ซึ่งหากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพเป็นประจำก็มักจะไม่ทราบและไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องทันเวลา จนโรคค่อยๆ ทวีความรุนแรงขึ้น และกลายเป็นอาการเรื้อรังในที่สุด จนถึงภาวะอันตราย และส่งผลกระทบต่อชีวิตอย่างมาก เช่น เกิดภาวะติดเตียงภายหลังการเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบหรือแตก เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา การคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและการมีอุปกรณ์สำหรับการคัดกรองสุขภาพในชุมชนจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้ประชาชนเข้าถึงการดูแลสุขภาพสะดวก ลดการเดินทาง และค่าใช้จ่าย รวมทั้งได้ดูแลควบคุมและป้องกันโรคไม่ให้ทำร้ายสุขภาพก่อนเวลาอันสมควร
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนได้รับการคัดกรองสุขภาพ ดูแลและส่งต่อตามแนวทางการรักษา ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรอง
ร้อยละ 90 ของประชาชนที่ได้รับการตรวจคัดกรอง มีการจำแนกกลุ่ม (กลุ่มปกติ กลุ่มสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย) และได้รับการดูแลตามมาตรฐาน |
90.00 | |
2 | เพื่อให้ลดอัตราป่วยรายใหม่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 100 ของกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการเยี่ยมบ้าน |
100.00 | |
3 | เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมโรคได้มากขึ้น ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมโรคได้ ร้อยละ 40 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ได้รับการเยี่ยมบ้าน |
100.00 | |
4 | มีสถานีคัดกรองสุขภาพ จำนวน 3 แห่ง ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการที่สถานีคัดกรองสุขภาพ |
80.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 10,000.00 | 0 | 0.00 | 10,000.00 | |
1 - 30 พ.ค. 68 | การคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง | 0 | 10,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 10,000.00 | 0 | 0.00 | 10,000.00 |
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมโรคได้มากขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2568 14:13 น.