กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคนท้ายน้ำปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ กปท.L3408
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้านตำบลท้ายน้ิำ อำเภอโพทะเล จังหวัดพิิจิตร
วันที่อนุมัติ 25 ธันวาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2568 - 15 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 15 สิงหาคม 2568
งบประมาณ 11,160.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสายัณห์ครีมทงศิริ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท้ายน้ำ อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2568 15 ส.ค. 2568 11,160.00
รวมงบประมาณ 11,160.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5005 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ตำบลท้ายน้ำ จากสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนน เมื่อปี พ.ศ.2567 ปรากฏมีผู้ประสบเหตุ จำนวน 7 ราย ตำบลท้ายน้ำ มีประชากรทั้งสิ้น 5,777 คน เป็นชาย 2,095 คน หญิง 2,862 คน จำนวน 1,983 ครัวเรือน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดพิจิตร ไปทิศตะวันตกเฉียงใต้ ระยะทา
5,005.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการจุดเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน 2. เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของผู้ใช้รถ และเพิ่มอัตราการสวมหมวกนิรภัย 3.

1.เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการจำนวน 33 คน มีความรู้/เข้าใจการวิเคราะห์จุดเสี่ยงจุดเสี่ยงและแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน เกิดการวางแผนงานร่วมกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปัญหา อุปสรรค ความสำเร็จเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและขยายผลกิจกรรม มีแผนที่ชุมชนที่มีรายละเอียดชัดเจน
2.ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงสถานการณ์อุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงในชุมชนตนเอง ร้อยล่ะ 80
3. จุดเสี่ยงเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนได้รับการแก้ไขอย่างมีส่วนร่วม ร้อยล่ะ 80 4.ประชาชนในชุมชนเกิดการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงอุบัติเหตุที่สอดคล้องกับจุดเสี่ยงร้อยล่ะ 80 5. อุบัติเหตุที่เกิดบริเวณจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขลดลง ร้อยล่ะ 80

6.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณม.ค. 68ก.พ. 68มี.ค. 68เม.ย. 68พ.ค. 68มิ.ย. 68ก.ค. 68ส.ค. 68
1 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง(1 ม.ค. 2568-15 ส.ค. 2568) 0.00                
รวม 0.00
1 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0 0
รวมทั้งสิ้น 0 0.00 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการจุดเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงเพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนนในชุมชน
2.ลดพฤติกรรมเสี่ยงของผู้ใช้รถ และเพิ่มอัตราการสวมหมวกนิรภัย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2568 14:41 น.